Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การส่งเสริมครูในเรื่องของประเด็นและทักษะในการให้คำปรึกษาแก่ผู้เร…
บทที่ 10
การส่งเสริมครูในเรื่องของประเด็นและทักษะในการให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียน
ทักษะในการมีส่วนร่วม
การใช้ท่าทางที่เปิดเผยการนั่งไขว้แขวนและขวาการมีส่วนร่วมของครูลดลง
การโน้มตัวเข้าหาผู้เรียน
จะแสดงว่าครูสนใจผู้เรียน
การเอนตัวไปข้างหลังซื้อให้ผู้เรียนรู้ว่าครูกำลังเบื่อ
การสื่อสารทางสายต้องไม่จบบทสนทนาด้วยการจ้องหน้าผู้เรียนเพราะเป็นการกระทำที่ไม่เหมาะสม
สงบผ่อนคลายและเป็นธรรมชาติ
การอยู่เฉยๆไม่เบี่ยงเบนความสนใจ
การหมุนหรือการกดปากกาเล่น
การเผชิญหน้ากับผู้เรียนการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างครูกับผู้เรียน
ศิลปะในการเอาใจใส่
ตั้งใจฟังผู้เรียนตลอดเวลา
ครูทำความเข้าใจต่อสิ่งที่ผู้เรียนพยายามจะเล่าให้ฟัง
สิ่งที่ไม่ควรทำ
ใช้สำนวนซ้ำซากจำเจ
การตีความไม่เหมาะสม
การตอบแบบพื้นฐาน
ครูเห็นถึงความรู้สึกของผู้เรียน
แสดงให้เห็นถึงประสบการณ์และพฤติกรรมของผู้เรียน
ศิลปะในการสืบสวนเรื่องราว
ครูต้องส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถและพฤติกรรมประสบการณ์และความรู้สึก
การใช้ข้อความสั้นๆใช้เพียงคำหรือวลีสั้นๆ
การตั้งคำถาม
ตั้งคำถามที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
มีประโยชน์ต่อการให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียน
การใช้ข้อความบอกเล่าข้อความเฉพาะเจาะจงมากขึ้น
การช่วยเหลือผู้เรียนให้รู้จักท้าทายตัวเอง
การท้าทายให้ผู้เรียนรู้ว่าปัญหาของพวกเขานั้นสามารถแก้ไขได้
ระบุปัญหา
ชี้ทางสว่างให้ผู้เรียน
การพัฒนาความแตกต่างและความบิดเบือน
ให้ผู้เรียนปล่อยอดีตให้ผ่านไปและหันมาสนใจในปัจจุบัน
การทักทายความแตกต่างระหว่างผู้เรียนคิดและรู้สึก
ประเด็นหลักและจริยศาสตร์
ระบบหลักการในการปฏิบัติที่นำไปสู่การสร้างพฤติกรรมแต่ละบุคคล
ผู้ให้คำปรึกษาและรับคำปรึกษา
หลักจริยศาสตร์ที่จำเป็นสำหรับครู
ทักษะในการเป็นผู้ฟังที่ดี
การสังเกตและทำความเข้าใจกับพฤติกรรมที่ไม่แสดงออกด้วยวาจา
การแสดงออกทางสีหน้า
โทนเสียง
การตอบสนองทางร่างกาย
การหายใจเร็ว
หน้าแดง
ลักษณะทางกายภาพ
ส่วนสูง
น้ำหนัก
สีผิว
ลักษณะภายนอกทั่วไป
ท่าทาง
การฟังและทำความเข้าใจตัวผู้เรียนกับสังคมแวดล้อม
สมาชิกในครอบครัว
ห้องเรียน
โรงเรียน
เพื่อนบ้าน
ผู้ฟังที่ดีประกอบด้วย
ฟังและทำความเข้าใจกับข้อความที่ผู้เรียนต้องการสื่อ
ฟังและทำความเข้าใจกับตัวผู้เรียนจากสังคมแวดล้อมของพวกเขา
สังเกตและทำความเข้าใจกับพฤติกรรมที่ไม่แสดงออกด้วยวาจาของผู้เรียน
รับฟังสิ่งที่ผู้เรียนพูด
การทักทายความคิดเห็นที่บิดเบียน
ครูต้องสังเกตช่องว่างและการบิดเบือนเวลาที่เหมาะสม
ครูต้องค่อย ๆ เรียนรู้
การเตรียมการให้คำปรึกษาในโรงเรียน
ครูที่ปรึกษาเป็นคนแรกที่ผู้เรียนเข้ามาปรึกษาขอความช่วยเหลือ
รับฟังปัญหาของผู้เรียน
ให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
ทักษะพื้นฐานของการให้คำปรึกษา
ปัญหาทางวิชาการระเบียบวินัย
ขั้นตอนที่ 2 หัวหน้าฝ่ายวินัยครูฝ่ายปกครองหากไม่สำเร็จจะนำไปสู่ขั้นตอนที่ 3
ขั้นตอนที่ 3 อาจารย์ใหญ่หรือรองอาจารย์ใหญ่
ขั้นตอนที่ 1 ครูเป็นที่ปรึกษาครูประจำรายวิชาหักช่วยเหลือไม่สำเร็จจะนำไปสู่ขั้นตอนที่ 2
ขั้นตอนที่ 4 หน่วยงานภายนอก
องค์กรสวัสดิการสังคม
ตำรวจ
ปัญหาทางสังคมและอารมณ์
ขั้นตอนที่ 2 หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการผู้เรียนที่ปรึกษาของโรงเรียนหักไม่สำเร็จนำไปสู่ขั้นที่ 3
ขั้นตอนที่ 3 หน่วยงานภายนอก
องค์กรสวัสดิการสังคม
ตำรวจ
ขั้นตอนที่ 1 ครูที่ปรึกษาครูประจำชั้นช่วยเหลือไม่สำเร็จนำไปสู่ขั้นที่ 2
การเคารพในตัวผู้เรียนและการไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้เรียน
ความไว้ใจได้
ความเข้าใจระหว่างครูและผู้เรียนให้คำปรึกษาในห้องพักครู
ข้อยกเว้นบางประการที่ต้องเปิดเผยข้อมูล
การฆ่าตัวตายหรือฆาตกรรมได้
กฎหมายต่อศาล
สถานการณ์ที่เป็นอันตรายต่อผู้เรียน
การไม่เปิดเผยสิ่งที่ได้รับรู้มาจากการเป็นผู้ให้คำปรึกษา
การดูแลเอาใจใส่
สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน
ขอความช่วยเหลือจากครูผู้มีวุฒิสูงกว่า
ผู้เชี่ยวชาญหรือหน่วยงานภายนอก
สรุป
การพัฒนาทักษะในการให้คำปรึกษาที่มีประสิทธิภาพจะก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีได้เมื่อนำมาใช้ร่วมกับหลักจริยศาสตร์และคำแนะนำที่จำเป็นต่อการให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียนครูจะต้องระลึกไว้เสมอว่าปัญหาของผู้เรียนเป็นสิ่งที่ครูควรให้ความสำคัญไม่ใช่สนใจแต่เรื่องของตนเอง
นางสาวนีลวาณีย์ บินมะ รหัสนักศึกษา 6220160352 กลุ่มที่ 3 เลขที่ 8