Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบเศรษฐกิจ image, การอยู่รอดในสังคมเศรษฐกิจที่ผันผวน, นายเกรียงศักดิ์ …
ระบบเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจโลกหลังสงครามโลกครั้งที่2 ( ปี ค.ศ. 1945-ปัจจุบัน)
ยุคทองของเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
ยุคนี้ประเทศต่างๆมีอัตราการเจริญเติบโตสูง
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจทุนนิยมเป็นไปได้ดีในแง่ของการเจริญเติบโต,การว่างงาน,และเสถียรภาพ
อัตราการว่างงานต่ำ
ปัจจัยเบื้องหลังยุคทองทางเศรษฐกิจ
เทคโนโลยี
การลงทุนที่สืบเนื่องจากเทคโนโลยีใหม่
มีการนำเทคโนโลยีที่ใช้ในสงครามมาพัฒนาใช้ในชีวิตประจำวัน
ระเบียบเศรษฐกิจโลก
ธนาคารโลก มีบทบาทในการให้เงินกู้กับประเทศต่างๆในการลงทุน
IMF มีบทบาทในการจัดการกับปัญหาวิกฤติบัญชีดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ
ก่อให้เกิดธนาครโลกและองค์กรการเงินระหว่างประเทศ ( IMF)
GATT [มีบทบาทในการลดกำแพงภาษีระหว่างประเทศที่มีการพัฒนาใกล้เคียงกัน
เศรษฐกิจแบบผสม
รัฐเข้ามามีบทบาทในตลาดที่ล้มเหลว
รัฐเข้ามามีบทบาทในการส่งเสริมการลงทุน กระตุ้นให้มีการคิดค้นนวัตกรรม
เศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่ แสดงให้เห็นจุดอ่อนแบบทุนนิยมเสรี
บทบาทรัฐในการควบคุมและปรับตลาด
นโยบายสนับสนุนอุตสาหกรรม
การออกกฎระเบียบควบคุมภาคการเงิน
รับใช้นโยบายตามแนวทางเคนส์เซียนในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ
ความรุ่งโรจน์และความเสื่อมถอยของเสรีนิยมใหม่ หลังปี ค.ศ. 1980
ภาคการเงินมีการลดกฎระเบียบ
ลดนโยบายช่วยผู้มีรายได้น้อย
สหรัฐอเมริกาลดภาษีเงินได้เพื่อกระตุ้นการลงทุนและนำมาสู่การเพิ่มความมั่งคั่ง
การล่มสลายของระบบสังคมนิยม
กำแพงเบอร์ลินถูกทำลายในปี 1989และสหภาพโซเวียตแยกตัวในปี 1991
ประเทศจีนและเวียดนามมีการปิดประเทศมากขึ้น
ประเทศสังคมนิยมเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจเป็นทุนนิยม มีการปรับรัฐวิสาหกิจเป็นเอกชน
ช่วงวิกฤตราคาน้ำมัน
ส่งผลต่อเสถียรภาพของเศรษฐกิจโลก
วิกฤตราตาน้ำมันครั้งที่ ( 1973 )
การยกเลิกระบบแลกเปลี่ยนด้วยทองคำ
การหยุดชะงักของระบบเศรษฐกิจ
วิกฤตราคาน้ำมันครั้งที่ ( 1979 )
เศรษฐกิจไทยตั้งแต่มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ( พ.ศ.2504 - ค.ศ.1953)
สัดส่วนคนจนลดลง แต่ความเลื่อมล้ำไม่ได้ลดลงมาก
คนไทยอายุยืนขึ้น
GDP และรายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้น
เศรษฐกิจไทยเติบโตช้าลง
วิกฤติการเงินเอเชีย
เกิดขึ้นในเอเชียหลังจากฟองสบู่แตก
การกู้เกินตัวของภาคธนาคารจากแหล่งเงินกู้ต่างประเทศ
เงินช่วยเหลือจาก IMF ผูกติดกับเงื่อนไขการเปิดเสรี
ถึงจุดจบโดยมีสัญญาณวิกฤติในแม็กซิโก
วิกฤต dotcom ถึง Great moderation
เศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนาแล้วเติบโตค่อนข้างดี อัตราเงินเฟ้อต่ำ
การเติบโตของเศรษฐกิจจีนเป็นไปอย่างอย่างรวดเร็ว
สหรัฐฯ - ฟองสบู่ในตลาดหลักทรัพย์ในหุ้นบริษัทเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
วิกฤติการเงินโลกปี 2008
เครื่องมือทางเงิน Mortgage-back security เพิ่มความรุนแรงของปัญหา
ปัญหาในภาคอสังหาริมทรัพย์ส่งผลต่อภาคการเงิน
จุดเริ่มต้นจากการปล่อยกู้ subprime
ส่งผลให้หลายประเทศกังวลกับภาคการเงิน และส่งผลให้เกิดวิกฤติการเงินโลก
ช่วงเศรษฐกิจ
ช่วงเสรีนิยม ( 1958 - 1996 )
การสร้างสถาบัน
ผลพวงของระบบเศรษฐกิจเสรี
การลงทุน
ช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ
ต่างชาติเข้ามาถือหุ้นบริษัทในไทย
อุตสาหกรรมมุ่งเน้นไปยังการส่งออก
ต้องลอยตัวค่าเงินบาทและกู้ IMF
หนี้ต่างประเทศจำนวนมาก
หลังวิกฤต 2540
ธนาคารพาณิชย์มีบทบาทมากขึ้น
ดำเนินนโยบายการเงินด้วย Inflation Targeting
ระบบประกันสังคม
การกำหนดนโนบายทางการเงิน
รัฐธรรมนูญสร้างความเข้มแข็งให้กับพรรคการเมือง
นโยบายเศรษฐกิจของทักษิณ
เน้นการเจรจาการค้าและการลงทุนเสรีแบบทวิภาคี
รักษาสัญญาตามนโยบายที่หาเสียง
ดำเนินนโยบายเศรษฐกิจแบบทวิวิถี
ใช้เงินผ่านช่องทางการเงินนอกงบประมาณและสถาบันการเงินของงรัฐ
ยุครัฐบาลทหารและความขัดแย้งทางการเมือง (2006 ถึงปัจจุบัน)
ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นไม่ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ
ผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจโลก
เศรษฐกิจเผชิญกับผลกระทบจากความขัดแย้งทางการเมือง
เศรษฐกิจพึ่งพาภาคต่างประเทศและภาคท่องเที่ยวสูง
วิกฤติการเงิน
ภาคการเงินกับวิกฤติเศรษฐกิจ
ในช่วงเศรษฐกิจขาลง
ในช่วงเศรษฐกิจขาขึ้น
วัฏจักรทางการเงิน
วิกฤติธนาคารพาณิชย์
บทบาทของธนาคารพาณิชย์
นโยบายการเงินหลัง 2008
ไม่สามารถแยกเสถียรภาาพทางการเงินและเศรษฐกิจมหภาคได้
เป้าหมายเสถียรภาพทางการเงิน
การดำเนินนโยบายการเงินโดยเน้นเสถียรภาพราคาอย่างเดียวไม่พอ
การอยู่รอดในสังคมเศรษฐกิจที่ผันผวน
การคิดอย่างนักเศรษฐศาสตร์
ต้นทุนค่าเสียโอกาส
การตัดสินใจโดยพิจารณาส่วนเพิ่ม
ต้นทุนจม
การอยู่รอดในสังคมเศรษฐกิจ
ตั้งเป้าหมายทางเศรษฐกิจ
รู้ว่าอยู่ห่างเป้าหมายแค่ไหน
ส่วนของทุนสุทธิ=ทรัพย์สิน-หนี้สิน
ทรัพย์สินทางการเงิน ทรัพย์สินที่จับต้องได้ ทรัพย์สินในแง่การลงทุน
หนี้สินระยะสั้น ,หนี้สินระยะยาว
การจัดการงบประมาณและกระแสเงินสด
ระบุปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น
วางแผนค่าใช้จ่ายในอนาคต
การติดตามกระแสเงินสด
ปรับเปลี่ยนปัญหาทางการเงินที่เกิดขึ้น
การแจกแจงรายได้และรายจ่าย
บรรลุเป้าหมายระยะสั้น กลาง ยาว
กลยุทธ์ในการออม
ใช้ mental accouting ในการออม
เริ่มออมเร็วแต่เป็นการออมประจำ
เงินออมเพื่อบรรลุเป้าหมาย
ออมเพื่อเป้าหมายระยะยาว
ออมเพื่อเป้าหมายระยะสั้น
ออมเผื่อฉุกเฉิน
ขั้นตอนไปสู่ความยั่งยืนทางการเงิน
การออมเผื่อฉุกเฉิน
การประกันเพื่อป้องกันความเสี่ยง
การลงทุนเป้าหมายระยะยาว
มีสถานการณ์ทางการเงินที่ดี
การลงทุนให้เหมาะสมกับเวลา
เป้าหมายปัจจุบันคืออะไร
Access to money
การลงทุนในเป้าหมายระยะยาว
stay ahead of inflation
อัตราเงินเฟ้อคืออะไร
การกระจายความเสี่ยงในทรัพย์สิน
เงินสด
อสังหาริมทรัพย์
ตราสารหนี้
ซื้อกองทุนรวม
หลักทรัพย์
การกลัวการลงทุน
เพราะคิดว่ามีความซับซ้อน
หลักทรัพย์มีความเสี่ยงกว่าหุ้นกู้
หลักทรัพย์หากมีกำไรเราจะได้รับปันผล
ผลตอบแทนสูงกว่าหุ้นกู้
มีเงินไม่เพียงพอ
การลงทุนในระยะยาววของตลาดหลักทรพย์
การลงทุนระยะสั้นในหุ้นกู้
ทักษะทางการเงิน
ทำได้ง่ายผ่านเครื่องมือออนไลน์
พลังของดอกเบี้ยทบต้น
การลงทุนในตลาดต่างประเทศ
การลงทุนผ่านกองทุน
เศรษฐกิจดิจิทัลเปลี่ยนแปลงโลก
คนใช้อินเตอร์เน็ตมากขึ้น
บริษัทสร้างรายได้จากทรัพย์สินทางปัญญา
เราเข้าสู่ยุคดิจิทัลที่มีโลกเสมือนจริง
อินเตอร์เน็ตทำให้บริษัทสามารถออกผลิตภัณฑ์เฉพาะบุคคลได้
การค้าระหว่างธุรกิจ
นายเกรียงศักดิ์ ฐิติกูล รหัส 6207002