Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่ได้รับอุบัติเหตุในระยะฉุกเฉินวิกฤติ, on…
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่ได้รับอุบัติเหตุในระยะฉุกเฉินวิกฤติ
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ
1.Pediatric Triage Assessment
เป็นการประเมินเพื่อจัดลำดับความสำคัญ
หรือความเร่งด่วนการให้การพยาบาลแก่
ผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับการรักษาในแผนกอุบัติเหตุฉุกเฉิน
เกณฑ์และวิธีการคัดแยก
จำเป็นต้องมีการช่วยการกู้ชีพ/มาตรการการรักษาชีวิตหรือไม่
วิกฤต แดง ESI1
ต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน
การช่วยหายใจ
การช่วยเหลือระบบไหลเวียนเลือด
การประเมินเกี่ยวกับการรับรู้เฉียบพลัน
การเปิดทางเดินหายใจ
เสี่ยงสูง/การรู้สติไม่ปกติ / เจ็บปวดรุนแรง
วิกฤตแดง ESI2
อาการโดยรวมยังคงดูแลต้องให้การช่วยเหลืออย่างรวดเร็วเพราะอาจจะทำให้อาการแย่ลงได้อย่างรวดเร็ว
การช่วยเหลือเบื้องต้น
การให้ออกซิเจน
IV
monitor EKG
Danger zone vital sing
อายุ < 3 เดือน ; HR > 180 ; RR > 50
จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรกี่ประเภท
3 more items...
อายุ 3 เดือน - 3 ปี ; HR > 160 ; RR > 40
อายุ 3-8 ปี ; HR > 140 ; RR > 30
อายุ > 8 ปี ; HR > 100 ; RR > 20
2.Initial Assessment and Management in Trauma Patient
A-Airway with C-spine protection
การเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
On Philadelphia support
เพื่อป้องกันการได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้นและอาจเกิดภาวะ neurogenic shockได้
B-Breathing with Ventilation
คงระดับออกซิเจนในเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 95%
on Endotracheal tube No.6 mark 16 cm
เพื่อติดตามออกซิเจน Saturationและค่าABGเป็นระยะ
C-Circulation with stop bleeding
หาสาเหตุเพื่อทำการห้ามเลือด การดามกระดูกที่หักเพื่อลดการเสียเลือดเพิ่มขึ้น
Ringer's lactate solution IV rate 60 ml/hr.
เพื่อให้ได้รับสารน้ำทดแทนอย่างรวดเร็ว
D-Disability
ประเมินระดับความรู้สึกตัว และการตอบสนองของม่านตา
Neurological sign
E4VtM4
Pupil
E-Exposure and Environment
ดูแลถอดเสื้อผ้า และพลิกตะแคงตัว
เพื่อหาภาวะบาดเจ็บต่างๆ ดูแลให้ร่างกายอบอุ่น ให้สารน้ำหรือเลือดที่มีอุณหภูมิ 39 องศาเซลเซียส
ป้องกันภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำ
A-B-C-Dและการช่วยเหลือที่จำเป็น :
การใส่สายสวนปัสสาวะ
retain foley's catheter
เพื่อประเมินและพิจารณาให้สารน้ำ
การลดภาวะกระเพาะอาหารโป่งพอง
NPO retain NG tube
เพื่อให้ลมในกระเพาะอาหารออก เพื่อลดการกระตุ้น vagal tone
จากการที่กระเพาะอาหารโป่งตึงเกินไป
จนอาจทำให้หัวใจเต้นช้าหรือผิดจังหวะ เพื่อเพิ่มปริมาตรของทรวงอก เพิ่มการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ และป้องกันการสูดสำลักเศษอาหารเข้าไปในปอด
Secondary Survey
1.การซักประวัติการได้รับอุบัติเหตุ
AMPLE
M-medication
ยาที่ได้รับ ยาที่แพ้ ยาที่ใช้เป็นประจำ
P-past illness
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต ประวัตืการได้รับวัคซีน
L-Last meal
อาหารหรือสิ่งที่บริโภคครั้งสุดท้าย
E-Event proceeding injury
เหตุการณ์ที่นำมาถึงการเจ็บป่วยครั้งนี้ เหตุการณ์การเกิดอุบัติเหตุ การปฐมพยาบาลในที่เกิดอุบัติเหตุ ระยะเวลาในการนำส่ง
A-Allergies
ประวัติการแพ้ยา อาหาร สารเคมี และสิ่งที่กระตุ้น
ให้เกิดอาการ
2.การประเมินสัญญาณชีพและติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
6.การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
X-ray , CT scan , Ultrasound , CBC ,BUN ,Cr, Electrolyte, Blood group match
FAST ; Focused Assessment with Sonography for Trauma
3.การประเมินระดับความรู้สึกตัวหรืออาการทางระบบประสาท
Neurological sing
Pupil
4.การประเมินสภาพร่างกายโดยละเอียดทุกระบบ
บาดแผล
อวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บว่ามีการบวมผิดรูป
การสูญเสีญการเคลื่อนไหวต่าง ๆ
การประเมินความปวดโดยใช้เครื่องมือประเมินตามวัย
เด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี
neonatal lnfant Scale(NIPS)
เด็กอายุ 1-3 ปี
Toddle Preschool Post Operative Pain Scale
เด็กอายุ 3-7 ปี
FLACC ; Face Legs Activity Cry Consolability
Pathology
เด็กชายอายุ 10 ปี
ศีรษะกระแทกหินใต้น้ำ
สมองได้รับบาดเจ็บ
สูญเสียการทำหน้าที่
ความรู้สึกตัวลดลง
E1V2M3
ไม่ลืมตา
ส่งเสียงอืออา
แขนข้างซ้ายและแขนขาข้างขวาเกร็งเข้าหาลำตัว
Severe head injury
Hemorrhage
เพิ่มพื้นที่ในกระโหลกศีรษะ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ IICP
เสี่ยงต่อการกดศูนย์ควบคุมการหายใจ
Blood loss
เสี่ยงต่อการเกิด
Hypovolemic shock
จมน้ำตก
น้ำจืด
สำลักน้ำเข้าปอด
ความเข้มข้นของเลือด > plasma
ซึมผ่านผนังถุงลม
leak เข้าสู่หลอดเลือด
RBC แตก
Decrease HCT
2 more items...
น้ำแทนที่ก๊าซในปอด
Pulmonary congestion
เลือดจาก RV ไปที่ปอดลดลง
ทำลายผนังหลอดเลือด
และสาร surfactants
Atelectasis
2 more items...
เลือดคั่งที่ RV
ท้นกลับ RA
1 more item...
Gvjhg
on Philadelphia support
Ringer’s lactate solution
on ET tube