Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครู - Coggle Diagram
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครู
คานิยาม
ข้าราชการครู
ผู้ที่ประกอบวิชาชีพซึ่ง ทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการ เรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาของรัฐ
คณาจารย์
บุคลากรซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐ
บุคลากรทางการศึกษา
ผู้บริหาร สถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้งผู้สนับสนุนการศึกษา ซึ่งเป็นผู้ทาหน้าที่ให้บริการ หรือ ปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการ จัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ การบริหาร การศึกษา และปฏิบัติงานอื่นในหน่วยงานการศึกษา
วิชาชีพ
วิชาชีพครู วิชาชีพบริหาร การศึกษา และวิชาชีพบุคลากรทางการศึกษาอื่น
หน่วยงานการศึกษา
สถานศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สานักงานการศึกษานอกโรงเรียน
แหล่งการเรียนรู้ตามประกาศของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ หรือตามประกาศกระทรวง หรือหน่วยงานที่ คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากาหนด
สถานศึกษา
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ ตามอัธยาศัย ศูนย์การเรียน วิทยาลัย วิทยาลัยชุมชน สถาบัน หรือสถานศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นของรัฐที่มีอานาจ หน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษาตามกฎหมายว่า ด้วยการศึกษาแห่งชาติและตามประกาศกระทรวง
9 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 140 มาตรา
หมวด 1 คณะการบริหารงานบุคคล ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
คณะการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
คณะกรรมการข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา
คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประจาเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประจาเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
หมวด 2 บททั่วไป
หลักการบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดี
ระบบคุณธรรม ความเสมอภาคระหว่างบุคคล
การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม เพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่อง ถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความเชื่อทางศาสนา ฯ จะ กระทามิได้
คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามผู้ซึ่งจะเข้ารับราชการเป็น ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
มีสัญชาติไทย
มีอายุไม่ต่ากว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ (สาหรับข้าราชการครูต้องไม่ต่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์)
เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือเป็นโรคตามที่กาหนดในกฎ
ก.ค.ศ. (โรคเรื้อน, วัณโรคในระยะติดต่อ, เท้าช้างที่ปรากฏอาการ, ติดยาเสพติด, พิษสุราเรื้อรัง)
ไม่เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการ ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนตาม พระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น หรือถูกสั่งพัก หรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพ
ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดีสาหรับการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพครู และบุคลากร
ทางการศึกษา
ไม่เป็นกรรมการบริหารพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง (เป็นสมาชิกได้)
ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย (เดิม ไม่เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว)
ไม่เป็นผู้เคยต้องโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ เป็นโทษสาหรับความผิดที่
ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรือ
หน่วยงานอื่นของรัฐ หรือองค์การระหว่างประเทศ
ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกเพราะกระทาผิดวินัย ตามพระราชบัญญัติ
นี้หรือตามกฎหมายอื่น
ไม่เป็นผู้เคยกระทาการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการหรือ เข้าปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐ
หมวด 3 การกาหนดตาแหน่ง วิทยฐานะ และการให้ได้รับเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และ เงินประจาตาแหน่ง
ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตาแหน่งซึ่งมีหน้าที่เป็นผู้สอน
ในหน่วยงานการศึกษา
(1) ครูผู้ช่วย
(2) ครู
(3) อาจารย์
(4) ผู้ช่วยศาสตราจารย์
(5) รองศาสตราจารย์
(6) ศาสตราจารย์
ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
และผู้บริหารการศึกษา
(1) รองผู้อานวยการสถานศึกษา
(2) ผู้อานวยการสถานศึกษา
(3) รองผู้อานวยการสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษา
(4) ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา
(5) ตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่
ก.ค.ศ. กาหนด
ตาแหน่งบุคลากรทาง
การศึกษาอื่น
(1) ศึกษานิเทศก์
(2) ตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่
ก.ค.ศ. กาหนด
หมวด 4 การบรรจุและแต่งตั้ง
การบรรจุบุคคลเข้ารับการเป็นข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา (ม.45)
ให้บรรลุและแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันได้สาหรับตาแหน่งนั้น โดยบรรจุและแต่งตั้งตามลาดับที่ในบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ ยกเว้น
(1) ในกรณีที่มีความจาเป็นหรือมีเหตุพิเศษที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาไม่สามารถ ดาเนินการสอบแข่งขันได้
(2) บุคคลซึ่งมีความรู้ ความสามารถ มีความชานาญหรือเชี่ยวชาญระดับสูง
(3) ก.ค.ศ.อาจกาหนดให้ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา บาง ตาแหน่งเป็นสัญญาจ้างปฏิบัติงานรายปีหรือโดยมีกาหนดเวลาหรือ เป็น พนักงานราชการ โดยไม่ต้องเป็นข้าราชการ
(4) การโอนพนักงานส่วนท้องถิ่นมาบรรจุ
(5) บรรจุผู้ออกจากราชการไปแล้ว และมิใช่เป็นการออกจากราชการใน
ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
(6) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ที่ได้รับอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรีให้ออกจากราชการไปปฏิบัติงานใดถ้าผู้นั้นเข้ารับราชการ ภายในกาหนดเวลาที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ แต่ไม่เกินสี่ปีนับแต่วันไปปฏิบัติ หน้าที่
ผู้มีอานาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง (ตามมาตรา 53)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย อนุมัติ ก.ค.ศ.
1) ตาแหน่งที่มีวิทยฐานะ เชี่ยวชาญพิเศษ (ครู / ผอ.สถานศึกษา / ผอ.
สพท. / ศึกษานิเทศก์)
2) ตาแหน่ง รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา / ชานาญ
การพิเศษ / เชี่ยวชาญ
3) ตาแหน่ง ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา / เชี่ยวชาญ /
เชี่ยวชาญพิเศษ
ศึกษาธิการจังหวัด โดยมติของ กศจ. (คาสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 19/2560)
1) รองผู้อานวยการสถานศึกษา
2) ผู้อานวยการสถานศึกษา
3) ศึกษานิเทศก์
4) บุคลากรทางการศึกษาอื่นในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
5) ตาแหน่งซึ่งมีวิทยฐานะ ชานาญการ ชานาญการพิเศษ และเชี่ยวชาญ
6) ครูผู้ช่วย
7) ครู
8) บุคลากรทางการศึกษาอื่น ในสถานศึกษา
9 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 140 มาตรา
หมวด 5 การเสริมสร้างประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติราชการ
การเลื่อนเงินเดือน
ผอ.สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คน
พิจารณาผลการปฏิบัติงานให้เลื่อนเงินเดือน ปีละ 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 สาหรับการปฏิบัติราชการในครึ่งปีแรก (ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม ถึง วันที่ 31 มีนาคม) โดยให้ เลื่อนในวันที่ 1 เมษายน ของปีที่จะเลื่อน
ครั้งที่ 2 สาหรับการปฏิบัติราชการในครึ่งปีหลัง (ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน ถึง วันที่ 30 กันยายน) โดยให้ เลื่อนในวันที่ 1 ตุลาคม ของปีที่จะเลื่อน
หมวด 6 วินัยและการรักษาวินัย
วินัยของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 82 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาวินัย ที่บัญญัติเป็น ข้อห้าม และข้อปฏิบัติ ไว้ในหมวดนี้โดยเคร่งครัดอยู่เสมอเป็นความผิดวินัยอย่าง ไม่ร้ายแรง
มาตรา 83 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต้องสนับสนุนการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยด้วยความบริสุทธิ์ใจและมีหน้าที่วางรากฐานให้เกิดระบอบการ ปกครองเช่นว่านั้น เป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
มาตรา 84ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เสมอภาคและเที่ยงธรรม มีความวิริยะ อุตสาหะ ขยันหมั่นเพียร ดูแลอาใจใส่รักษาประโยชน์ของทางราชการ และต้องปฏิบัติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพอย่างเคร่งครัด
ห้ามมิให้อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยอานาจและหน้าที่ราชการของตนไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม หาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่นเป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับประโยชน์ที่มีควรได้ เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ
มาตรา 85 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบายของรัฐ โดยถือประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน และไม่ให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการ
การปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรีหรือนโยบายของรัฐบาล ประมาทเลินเล่อ หรือขาดการเอาใจใส่ระมัดระวังรักษาประโยชน์ของทางราชการ อันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย แก่ราชการอย่างร้ายแรงเป็น ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา 86 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต้องปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชา ซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ โดยไม่ขัดขืนหรือหลีกเลี่ยงแต่ถ้าเห็นว่า การปฏิบัติตามคาสั่งนั้นจะทาให้เสียหายแก่ราชการ หรือจะเป็นการไม่รักษาประโยชน์ของทางราชการ จะเสนอความเห็นเป็นหนังสือภายในเจ็ดวันเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคาสั่งนั้นก็ได้ และเมื่อเสนอความเห็นแล้วถ้าผู้บังคับบัญชายืนยันเป็นหนังสือให้ปฏิบัติตามคาสั่งเดิม ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจะต้องปฏิบัติตาม
มาตรา 87ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต้องตรงต่อเวลา อุทิศเวลาของตนให้แก่ทางราชการ และผู้เรียน จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรมิได้
การละทิ้งหน้าที่ หรือ ทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผล อันสมควร เป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง หรือ การละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อกัน ในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบห้าวัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรหรือโดยมีพฤติกรรมอันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา 88ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องประพฤติ เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียนชุมชน สังคม มีความสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี ช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผู้เรียนและระหว่างข้าราชการด้วยกันหรือผู้ร่วมปฏิบัติราชการ ต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรม แก่ผู้เรียนและประชาชนผู้มาติดต่อราชการ
การกลั่นแกล้ง ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ หรือข่มเหงผู้เรียน หรือ ประชาชนผู้มาติดต่อราชการอย่างร้ายแรง เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา 89ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กลั่นแกล้ง กล่าวหาหรือร้องเรียนผู้อื่นโดยปราศจากความเป็นจริง
มาตรา 90 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต้องไม่กระทาการหรือ ยอมให้ผู้อื่นกระทาการหาประโยชน์อันอาจทาให้เสื่อมเสียความเที่ยงธรรม หรือ เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ในตาแหน่งหน้าที่ราชการของตน
การกระทาตามวรรคหนึ่ง ถ้าเป็นการกระทาโดยมีความมุ่งหมายจะให้เป็นการซื้อ ขาย หรือ ให้ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งหรือวิทยฐานะใดโดยไม่ชอบด้วย กฎหมาย หรือ เป็นการกระทาอันมีลักษณะเป็นการให้หรือได้มาซึ่งทรัพย์สินหรือ สิทธิประโยชน์อื่น เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับการบรรจุและแต่งตั้งโดยมิชอบ หรือเสื่อมเสียความเที่ยงธรรม เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา 91 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่คัดลอกหรือลอก เลียนผลงานทางวิชาการของผู้อื่นโดยมิชอบ หรือ นาเอาผลงานทางวิชาการของ ผู้อื่น หรือจ้างวาน ใช้ผู้อื่นทาผลงานทางวิชาการเพื่อไปใช้ในการเสนอขอปรับปรุง การกาหนดตาแหน่ง การเลื่อนตาแหน่ง การเลื่อนวิทยฐานะหรือการให้ได้รับ เงินเดือนในระดับที่สูงขึ้น การฝ่าฝืนหลักการดังกล่าวเป็นความผิดวินัยอย่าง ร้ายแรง
มาตรา 92 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่เป็นกรรมการ ผู้จัดการหรือผู้จัดการ หรือดารงตาแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกันนั้น ในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท
มาตรา 93 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องวางตนเป็นกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหน้าที่ และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน โดยต้องไม่อาศัยอานาจและหน้าที่ราชการของตนแสดงการฝักใฝ่ ส่งเสริม เกื้อกูล สนับสนุนบุคคล กลุ่มบุคคล หรือพรรคการเมืองใด
มาตรา 94 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาชื่อเสียงของตนและรักษาเกียรติศักดิ์ของตาแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิใช้เสื่อมเสีย โดยไม่กระทาการใด ๆ อันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว
มาตรา 95 ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัยป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทาผิดวินัย และดาเนินการทางวินัยแก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาซึ่งมีกรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัย
คาจากัดความที่สาคัญ
1.ความผิดลหุโทษหมายถึง ความผิดซึ่งต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
การกระทาโดยประมาทหมายถึง การกระทาโดยปราศจากความระมัดระวัง
2.ทอดทิ้งหน้าที่ราชการหมายถึง มาอยู่ในสถานที่ราชการแต่ไม่สนใจเป็นธุระไม่ปฏิบัติราชการตามหน้าที่ปล่อยให้งานคั่งค้าง
ละทิ้งหน้าที่ราชการหมายถึง ไม่อยู่ปฏิบัติราชการตามหน้าที่
กลั่นแกล้งหมายถึง พฤติกรรมที่ทาให้บุคคลเกิดความรู้สึกทรมานทางจิตใจ หรือ ร่างกายชั่วคราว หรือต่อเนื่อง หากปล่อยให้กลายเป็นพฤติกรรมที่เลวร้าย
ดูหมิ่นหมายถึง สบประมาท ดูถูกว่าไม่ดี
เหยียดหยามหมายถึง ดูถูกหรือรังเกียจโดยเหยียดให้ต่าลง
กดขี่หมายถึง ข่มให้อยู่อานาจตน ใช้อานาจบังคับเอสา
ข่มเหงหมายถึง ใช้กาลังรังแก
โทษทางวินัย
1.ภาคทัณฑ์
2.ตัดเงินเดือน
3.ลดขั้นเงินเดือน
4.ปลดออก
5.ไล่ออก
*ผู้ใดถูกลงโทษปลดออกให้ผู้นั้นมีสิทธิได้รับบาเหน็จบานาญ เสมือนว่าเป็นผู้ลาออกจากราชการ
หมวด 7 การดาเนินการทางวินัย
การตั้งคณะกรรมการสอบสวน
เมื่อได้ดาเนินการสอบสวนผู้ถูกกล่าวหาแล้ว
ถ้าฟังได้ว่ากระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรง
กรณีที่กระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงต้องลงโทษ
ถ้ามีเหตุผลอันควรลดหย่อน
กรณีทาผิดวินัยเล็กน้อย เป็นเหตุให้งดโทษ
9 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 140 มาตรา
หมวด 8 การออกจากราชการ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาออกจากราชการ เมื่อ
(1) ตาย
(2) พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการ
(3) ลาออกจากราชการ
(4) ถูกสั่งให้ออก
(5) ถูกสั่งลงโทษปลดออกหรือไล่ออก
(6) ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเว้นแต่ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งอื่นที่ไม่ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการ
หมวด 9 การอุทธรณ์และการร้องทุกข์
การอุทธรณ์และการร้องทุกข์
การอุทธรณ์ (กรณีถูกลงโทษทางวินัย 5 สถานเท่านั้น) ต่างกับ การร้องทุกข์
1) โทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดขั้นเงินเดือน (ไม่ร้ายแรง)
2) โทษปลดออก ไล่ออก (ร้ายแรง)
การร้องทุกข์
ไม่ได้รับความเป็นธรรม
ร้องทุกข์ต่อ กศจ.
-ภายในสามสิบวัน นับแต่วันทราบเรื่องอันเป็นเหตุเกิดเหตุแห่งการร้องทุกข์
ถูกสั่งให้ออกจากราชกา
ร้องทุกข์ต่อ ก.ค.ศ.
(ภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคาสั่ง)