Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(Respiratory Distress Syndrome :RDS) - Coggle Diagram
(Respiratory Distress Syndrome :RDS)
พยาธิสภาพ
surfactantสร้างจากเซลล์ pneumocyte type II
ตั้งแต่อายุครรภ์20 สัปดาห์และสรา้งมากขึ้นจนอายุครรภ์35
สัปดา
ภาวะที่มีการขาดสารลดแรงตึงผิวในทารกที่คลอดก่อนอายุครรภ์ครบกำหนด ส่งผลให้มีแรงตึงผิวที่มากขึ้นบริเวณ Alveoli เป็นเหตุให้มีการตีบตันของถุงลม (Alveolar collapse) และทำให้การแลกเปลี่ยนก๊าซมีประสิทธิภาพลดลง ในที่สุดทารกก็จะเกิดภาวะขาดออกซิเจน (Neonatal hypoxia) และเกิดความผิดปกติของการทำงานของปอด เกิดภาวะ Acidosis และเพิ่ม Shunt ในปอด
ความหมาย
กลุ่มอาการหายใจลำบากที่พบบ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนด จะปรากฏอาการภายใน 6 ชม.หลังหลอด และมีความรุนแรงขึ้นตามลำดับ เกิดจากปอดทำงานไม่สมบุรณ์
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติมารดาและทารก ได้แก่ อายุครรภ์, การได้ Antenatal steroid, การมีไข้, ประวัติ PROM, ประวัติการคลอด, การช่วยกู้ชีพ
2.การตรวจร่างกาย การฟังเสียงหายใจ ฟังปอดอาจได้ยิน poor air entry, แรงการหายใจ, การกำซาบ ซึ่งทารกอาจมีสิวผิวซีดหรือคล้ำ, มีอาการแสดงของภาวะความดันโลหิตต่ำ
3.การถ่ายภาพรังสีปอด พบ Ground gass appearance แทรกด้วยลมในหลอดลมฝอย (air bronchogram) ในรายที่เป็นมากจะมีลมเข้าปอดน้อยมากจนไม่สามารถแยกเงาหัวใจและเงาปอดได้
4.การตรวจทางห้อมปฏิบัติการ ได้แก่ arterial blood gas มักพบ Hypoxia, Hypercarbia และ Metabolic acidosis
อุบัติการณ์
แปรผันตามอายุครรภ์ พบบ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนดที่GA<34-36wks โดยเฉพาะน้ำหนักตัว < 1500gms
อายุครรภ์ต่ำกว่า 28 wks/BW <1000gms อาจเกิด 60-80%
อายุครรภ์ต่ำกว่า 30 wks อาจเกิด 65%
อายุครรภ์32-36 wks อาจเกิด 15-30%
อายุครรภ์ใกล้ครบกำหนดจะพบได้น้อยลง
พบในทารกเพศชายมากกว่าเพศหญิง
ปัจจัย
มารดามีเลือดออกก่อนคลอด
ครรภ์แฝด
Caesarean Section
เด็กมีภาวะ Hypothermia
Birth Asphyxia
มารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ครรภ์ก่อนบุตรมีภาวะ RDS
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วหรือหายใจลำบาก
Retraction
Expiratory Grunting เสียงครางขณะหายใจออก
Nasal Flaring ปีกจมูกยกกว้างทุกครั้งที่หายใจเข้า
cyanosis เขียวทั้งตัว
อาการอื่นๆ เช่น อุณหภูมิกายต่ำ ฺBPต่ำ ทารกดูซีด
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกในช่องสมอง(IVH)
ถุงลมปอดรั่ว มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด(Pulmonary air leak syndrome)
ติดเชื้อแทรกซ้อน
เกิดโรคปอดเรื้อรังBronchopulmonary dysplasi
BPD,NEC,ROP
การรักษา
การช่วยหายใจ
1.การใชเ้ครื่องช่วยหายใจ ใชรู้ปแบบ Patient-trigger ventilationที่ทารกหายใจเข้าและออกพร้อมกับเครื่องช่วยหายใจ ทั้งรูปแบบ
Assist control (AC), แบบ Synchronized intermitten
mandatory ventilation (SIMV), แบบ pressure support
สามารถลดระยะเวลาใชเ้ครื่องช่วยหายใจและจํานวนวันที่ใช้ออกซิเจนได้ส่วนการช่วยหายใจแบบ HFOV สามารถลดการบาดเจ็บของปอดได้
2.การใชเ้ครื่องช่วยหายใจแบบ Non-invasive Ventilation
ได้แก่ nCPAP พบวา่ การให้early nCPAPหายใจได้เอง สามารถป้องกันภาวะหายใจล้มเหลวและหลีกเลี่ยงการใส่ท่อช่วยหายใจได้
การให้ออกซิเจน
การให้สารลดแรงตึงผิว ควรให้เร็วที่สุดภายใน 1-2
ชั่วโมงแรกหลังเกิด (Early rescue) และไม่ควรช้าเกิน 6 ชั่วโมง
การพยาบาล
จัดท่านอนและเปลี่ยนท่านอนตามความเหมาะสม
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ควบคุมอุณภูมิร่างกายให้ปกติและคงที่
ถ้าทารกขาดออกซิเจน ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างถูกต้อง
ประเมินภาวะขาดออกซิเจน โดยmonitor O2sat สังเกตและบันทึกการหายใจและสีผิว
ให้การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ลดการใช้ออกซิเจน