Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชายไทยวัยผู้ใหญ่ อายุ 45 ปี
Dx.Open Depression Facture skull Right…
ผู้ป่วยชายไทยวัยผู้ใหญ่ อายุ 45 ปี
Dx.Open Depression Facture skull Right PTO Region with Laceration Brain Tissue
ความหมาย
การบาดเจ็บศีรษะหมายถึงการได้รับอันตรายจากแรงภายนอกมากระทบที่บริเวณหนังศีรษะ กะโหลกศีรษะ และเนื้อเยื่อที่เป็นส่วนประกอบภายในกะโหลกศีรษะ สมอง และเส้นประสาทสมองแล้วมีการเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัว ไม่ว่าจะเป็นช่วงระยะเวลาเท่าไรก็ตาม แต่ไม่ร่วมถึง ผู้ป่วยบาดเจ็บที่ใบหน้า เช่น ผิวหนังใบหน้าฉีกขาด กระดูกหน้าแตกหัก มีวัตถุแปลก ปลอมเขาไปในหู หรือมีเลือดกําเดาไหล เป็นต้น แต่การบาดเจ็บเหล่านี้พบร่วมกับ การบาดเจ็บที่ศีรษะได้
-
-
พยาธิ
การบาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก (Primary Head Injury) ได้แก่ บาดเจ็บที่หนัง ศีรษะ กะโหลกศีรษะหรือสมอง ซึ่งเกิดจากแรงมากระแทกโดยตรง เป็นพยาธิสภาพที่เกิดขึ้นทันทีทันใด
Focal Brain Injury เป็นการบาดเจ็บเฉพาะที่ มีลักษณะเฉพาะคือ มีเลือดออกบริเวณที่บาดเจ็บ เนื้อสมองบวมฉีกขาด
Diffuse Brain Injury การบาดเจ็บต่อสมองชนิดนี้เกิดขึ้น เมื่อแรงเหวี่ยง ทําให้ศีรษะเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว ทำใหเกิดพยาธิสภาพกระจายทั่วสมอง สมองหยุดชะงักการทำงาน
การบาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่สอง (Secondary Head Injury) คือ การบาดเจ็บที่มีการสูญเสียหน้าที่ของสมองเพิ่มจาก Primary Brain Damage อันเป็นผลสืบเนื่องจากการเกิด Hypotension, Hypoxia, Hypercapnia หรือสาเหตุอื่นซึ่งในกลุ่ม Secondary Brain Damage นั้นเป็น กลุมซึ่งสามารถทำการป้องกันและรักษาได้ การบาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่สองที่พบมีดังนี้
มีก้อนในโพรงกะโหลกศีรษะสามารถพบได้หลายตำเหน่ง ได้แก่ ก้อนเลือดที่ชั้นดูรามักเกิดจากการเเตกของกะโหลกศรีษะร่วมกับมีการฉีกขาดของหลอดเลือดแดง. ก้อนเลือดใต้ชั้นดูรา เกิดจากการ ฉีกขาดของหลอดเลือดดำบริคจิงพบในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรง ก้อนเลือดใต้ชั้นอเเรคนอยด์ก้อนเลือดภายในสมอง
-
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง เป็นภาวะที่คุกคามต่อชีวิต สาเหตุที่ทำให้ความดันในกะโหลกศีรษะสูง ได้เเก่ การเพิ่มปริมาตรในสมอง การมีเลือดในสมองเพิ่มขึ้น การทำให้น้ำไขสันหลังเพิ่มมากขึ้น. การจัดท่านอนที่ไม่เหมาะสมเเละการเผาผลาญที่เพิ่มขึ้น
-
การรักษา
ทฤษฎี
การรักษาโดยไม่ต้องผ่าตัด ถ้ามีการบาดเจ็บต่อสมองเพียงอย่างเดียว การรักษาจะเป็นการรักษาแบบประคับประคอง ได้แก่ การคงไว้ซึ่งการไหลเวียนและปริมาณออกซิเจนที่ไปเลี้ยงสมองได้อย่างเพียงพอ
การรักษาโดยการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเพื่อแก้ไขพยาธิสภาพที่เกิดขึ้นภายในโพรงกะโหลกศีรษะ การรักษาโดยการทำผ่าตัดนี้ผู้ป่วยจะได้รับ การทำผ่าตัดโดยการเจาะรูผ่านกะโหลกศีรษะเพื่อเข้าไปดูดของเหลวที่คั่งค้างออก (Burr Hole) หรือผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเพื่อนําก้อนเลือดที่คั่งอยู่ภายในออก นอกจากนั้นการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ(Craniotomy) ยังสามารถป้องกันและลดผลกระทบจาก การบาดเจ็บที่ศีรษะได้ เช่น ลดความดันในกะโหลกศีรษะป้องกันภาวะสมองเคลื่อนย้อย
กรณีศึกษา
รักษาโดยการผ่าตัดแบบเปิดกะโหลกศรีษะ
ผ่าตัด. Right wide craniectomy with remove Brain fregment
with Debridement brain tissue with clot remove with stop bleeding
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 2. เฝ้าระวังการเกิดภาวะเนื้อเยื่อพร่องO2 เนื่องจากมีพยาธิสภาพที่สมอง จากการได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรง
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่4 อาจเกิดการติดเชื้อในร่างกายเนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
-
-
วินิจฉัยการพยาบาลข้อที่1 เฝ้าระวังการเกิดภาวะ IICP เนื่องจากมีเลือดออกที่สมองร่วมกับสมองบวมจากอุบัติเหตุ