Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา - Coggle Diagram
การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
william Farr (แพทย์ชาวอังกฤษ)
บิดาของสตถิติชีพและการเฝ้าระวังยุคใหม่
surveillance มาจาก ภาษาฝรั่งเศษ หมายถึงการเฝ้าสังเกตอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องต่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลเพื่อการชี้แนะ ดูแล ควบคุม
Alexander D langmuir
การเฝ้าสังเกตอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับการกระจายและแนวโน้มอุบัติการณ์ของโรค
เก็บข้อมูลรวบรวมอย่างเป็นระบบ
วิเคราะห์ขเอมูลและการประเมินรายงานการป่วย ตาย อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
กระจายข่าวทราบให้ผู้เกี่ยวข้องทราบสม่ำสเมอและต่อเนื่อง
การเฝ้าระวัง เป็นรากฐานของวิทยาการระบาดสมัยใหม่สำหรับงานสาธารณสุข เป็นแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรค
อดีต การเฝ้าระวังเกิดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อ
ปัจจุบัน ขยายขอบข่ายงานไปยังโรคติดเชิ้้อแขนงต่างๆ เช่น การเฝ้าระวังทางโภชนาการ การเฝ้าระวังอุบัติเหต การเฝ้าระวังการพิการแต่กำเนิด การเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงต่างๆ โรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ
วัตถุประสงค์ของการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ทราบถึงสถานการณืของโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุข
ทราบแนวโน้มที่เปลี่ยนแปลงของโรคที่เกิดจากธรรมชาติและกระทำของมนุษย์
ตรวจค้นกุ่มประชาชนที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคภัย
ติดตามลักษณะทางระบาดวิทยาของโรคภัยไข้เจ็บ แนวโน้มเปลี่ยนแปลงอย่งไร เพื่อหาองค์ความรู้ใหม่นำไปใช้ในการปรับปรุงและควบคุมป้องกันโรค
ขอบเขตการเฝ้าระวัง ได้แก่ การเฝ้าระวังการป่วย ตาย การระบาด การใช้วัคซีนซีรัมและยา ปละการเฝ้าระวังปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรค
ประโยชน์ของการเฝ้าระวัง
ตรวจพบปัญหาโรคภับไข้เจ็บได้ทันท่วงที
ได้ข้อมูลในการวางแผนและคาดการณ์ความต้องการด้านสาธาณสุข
แนวทางในการประเมินผลการป้องกันควบคุมโรคและโปรแกรมแทรกแซง
แนวทางในการรักษาพยาบาล ค้นหาสาเหตุของโรคและสาเหตุการระบาดของโรค
รูปแบบการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
เชิงรับ(Passive surveilance)
รวบรวมข้อมูลจากผู้ให้บริการสาธารณสุข
ทำได้ครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่และทำได้เป็นเวลานานๆ
มักได้ข้อมูลไม่ครบถ้วนต้องคอยติดตามและตรวจสอบคุณภาพข้อมูลอยู่ตลอดเวลา
เฉพาะที่(Sentinel surveilsnce)
เลือกบางพื้นที่ที่มีความพร้อมทางห้องปฏิบัติการและบุคลากร
รวบรวมข้อมูลจากผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่เลือกแล้ว
เชิงรุก(Avtivesurveilance)
ผู้รวบรวมข้อมูลเข้าไปติดตามค้นหาปัญหาในชุมชนอย่างใกล้ชิด
ทราบปัญหาได้อย่างรวดเร็วและคุมคุภาพข้อมูล ได้ข้อมูลครบถ้วน
ใช้ในพื้นที่ที่ไม่กว้างและเวลาสั้นๆ
เฉพาะ(Special system surveilance)
สถานการณ์เฉพาะ เพื่อตอบสนองสภาวะฉุกเฉิน
เป้าหมายประชากรและสถานที่รายงานผลเฉพาะ
รายงานผลทันทีเพื่อการปฏิบัติการที่รวดเร็ว
การดำเนินการตามข่ายงาน
วิเคราะห์ข้อมูลและการแปรผล
การกระจายข้อมูลข่าวสารให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบและนำไปใช้ประโยชน์
รวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
อดีต = (DR) (E.2) (E.3) (E.4) (E.7) (E.8) (E.8.1) (E.9)
ปัจจุบัน = นำเอาเทคโนโ,ยีมาใช้ในงานระบาดวิทยา มีระบบคอมพิวเตอร์ใช้งานเก็บบันทึกข้อมูลคนไข้ที่มารับบริการทุกคนได้ จึงสามารถส่งข้อมูลที่นำเข้า(Jhcis , HosXP , HosOS) ระบบงานระบาดวิทยาได้ใช้บัตร ฟอร์ม จึงลดน้อยลง
การระบาดของโรค = โรคที่ทำให้เกิดการติดต่อจำนวนมากผิดปกติในเวลาอันสั้น เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
ลักษณะของการเกิดโรคในชุมชน
แบบประปราย (Sporadic) = โรคที่ขึ้นนานๆครั้ง
โรคประจำถิ่น (Endemic) = โรคที่พบประจำในชุมชน
โรคระบาดแผ่กว้าง = แผ่กระจายไปทั่วประเทศ และ ประเทศต่างๆ
ชนิดของระบาดของโรค
จากแหล่งแพร่เชื้อรวม(Common-source epidemic)
จากแหล่งแพร่เชื้อกระจาย(Propagated sourece epidemics)
องค์ประกอบของการเฝ้าระวัง = รายงานการตาย การเจ็บป่วย การระบาด การศึกษษทางห้องชัสูตรสารธารณสุข การสอบนวนผู้ป่วยเฉพาะราย การสอบสวนการระบาดในท้องที่ การสำรวจทางระบาดวิทยา การศึกษารังของโรคในสัตว์และการกระจายของแมลงนำโรค ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้วัคซีน เซรุ่มและยา ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งเวดล้อม