Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 บทบาทของพยาบาลในการดูแลช่วยเหลือบุคคลที่มีบาดแผล, image, image,…
บทที่ 6 บทบาทของพยาบาลในการดูแลช่วยเหลือบุคคลที่มีบาดแผล
วิธีการทำแผล
การประเมินสภาพแผล
แกะพลาสเตอร์โดยใช้มือกดผิวหนังลง ส่วนอีกมือแกะพลาสเตอร์ดึงเข้าแผล หากพลาสเตอร์เหนียวลอกยาก ให้ใช้ส าลีชุบ NSS ค่อยๆเช็ดบริเวณพลาสเตอร์ เพื่อให้ลอกง่ายขึ้น
พร้อมสังเกตลักษณะของแผล ขนาด จำนวนและสีของสารคัดหลั่ง
ปิดแผลด้วยผ้าก๊อสปิดแผลผืนเดิม
ล้างมือให้สะอาดภายหลังการประเมินแผล
การเตรียมเครื่องใช้ในการทำแผล
ชุดทำแผล น้ำยาทำความสะอาดตามแผนการรักษา
วางชุดทำแผลบริเวณที่สะอาด เปิดชุดทำแผล
นำน้ำยาตามแผนการรักษาใส่ถ้วยน้ำยา โดยคีบสำลี
ออกจากถ้วย
ปิดชุดทำแผล เตรียมชามรูปไต พลาสเตอร์หรือเครื่อง
ยึดติดแผล
การทำแผล
การทำแผลแบบแห้ง (Dry dressing)
เปิดแผลโดยใช้มือหยิบผ้าปิดแผล
เปิดชุดทำแผล
ใช้ปากคีบไม่มีเขี้ยว คีบสำลีชุบแอลกอฮอล์
70% ประมาณ 2/3 ทำความสะอาดเเผล
ปิดแผลด้วยผ้าก็อสและติดพลาสเตอร์
การทำแผลแบบเปียก
เปิดแผลโดยใช้มือหยิบผ้าปิดแผล
ทำความสะอาดริมของแผล
ใช้สำลีชุบน้ำเกลือหรือน้ำยาเช็ด
ภายในแผลจนสะอาด
ใช้ผ้าก๊อสชุบน้ำยาใส่ในแผล
ปิดแผลด้วยผ้าก๊อสหรือผ้าก๊อสหุ้ม
สำลีตามปริมาณของสิ่งคัดหลั่ง
ปิดพลาสเตอร์
วิธีการตัดไหม
ทำความสะอาดบาดแผล โดยใช้แอลกอฮอล์
70% เช็ดชิดขอบแผล
การตัดไหมที่เย็บแผลโดยใช้ไหมผูกเป็นปมแยกเป็นอัน ๆ
โดยใช้ปากคีบไม่มีเขี้ยวจับที่ชายไหมเย็บแผลส่วนที่อยู่เหนือ
ปมที่ผูกไว้ดึงขึ้นพอตึงมือ จนเห็นไหมเย็บแผลที่อยู่ใต้ปมโผล่พ้น
ผิวหนัง สอดปลายกรรไกรส าหรับตัดไหมในแนวราบขนานกับผิวหนัง
ตัดไหมเย็บแผลส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังซึ่งอยู่ใต้ปมที่ผูก แล้วดึงไหมเย็บแผลในลักษณะดึงเข้าหาแผลเพื่อป้องกันแผลแยก
การใช้ผ้าพันแผล
การพันรอบหรือพันเป็นวงกลม (Circular turns)
การพันเป็นเกลียว (Spiral turns)
การพันรูปเลขแปด (Figure of eight turns)
การใช้ผ้าสามเหลี่ยม
การคล้องแขน (Arm sling)
การพันศีรษะ
การพันมือ