Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครู - Coggle Diagram
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครู
ความสาคัญของกฎหมาย
1.เพื่อให้เรียนรู้เรื่องกฎหมายและ
การควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์
2.เพื่อจะได้รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ของตนที่
ต้องรู้และปฏิบัติตามกฎหมาย
เพื่อเป็นการป้องกันตัวเองไม่ให้ทาผิดกฎหมาย
โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์
เพื่อประโยชน์ในทางวิชาชีพและการ
ประกอบอาชีพ
เพื่อประโยชน์ต่อบ้านเมืองและ
การปกครองประเทศ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
หมวด 16มาตรา 258 ให้ดาเนินการปฏิรูปประเทศอย่างน้อยในด้านต่าง ๆ ให้เกิดผล ดังต่อไปนี้
จ. ด้านการศึกษา
(1) ให้สามารถเริ่มดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามมาตรา 45 วรรคสอง เพื่อให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัยโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
(2) ให้ดาเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนตามมาตรา 45 วรรคหก ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้
(3) ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมทั้งมีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพครู
(4) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัดและปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยสอดคล้องกันทั้งในระดับชาติและระดับพื้นที่
หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ
มาตรา 261ในการปฏิรูปตามมาตรา 258 จ. ด้านการศึกษา ให้มีคณะกรรมการที่มีความเป็นอิสระคณะหนึ่งที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งดาเนินการศึกษาและจัดทาข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีดาเนินการต่อไป
ให้คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ และให้คณะกรรมการดาเนินการศึกษาและจัดทาข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายให้แล้วเสร็จและเสนอต่อคณะรัฐมนตรีภายในสองปีนับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 (ฉบับที่ 2) พ.ศ.254และ(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
หมวดที่ 1บททั่วไป(ความมุ่งหมายและหลักการ)
หมวด 1ความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา 6-7
ความมุ่งหมาย
จัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคนไทยให้ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มี จริยธรรมและวัฒนธรรมในการ ดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข (เก่ง ดี มีสุข)
หลักการ
เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับ
ประชาชน
ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้
ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
กระบวนการเรียนรู้
มุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับ การเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและ ส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความ เคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ฯ
หลักการจัดการศึกษา มาตรา 8
การศึกษาตลอดชีวิต
สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
การจัดระบบ โครงสร้าง และ กระบวนการจัด การศึกษา มาตรา 9
มีเอกภาพด้านนโยบาย
หลากหลายในการปฏิบัติ
กระจายอานาจไปสู่เขตพื้นที่ การศึกษา สถานศึกษาและ อปท
กาหนดมาตรฐานและ
ประกันคุณภาพการศึกษา
ส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพ
ระดมทรัพยากร และมีส่วนร่วมบุคคล
ชุมชนและองค์กรต่างๆ
หมวดที่ 2
สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
สิทธิ
เรียนฟรี อย่างน้อย 12 ปี อย่างมี คุณภาพ
สิทธิและโอกาสพิเศษ สาหรับผู้มีความบกพร่อง พิการ ทุพพลภาพ ตั้งแต่แรกเกิดหรือบุคคลไม่สามารถ พึ่งตนเองได้
จัดรูปแบบการศึกษาที่เหมาะสมกับผู้ที่
มีความสามารถพิเศษ
หน้าที่
ส่งบุตรหลานหรือบุคคลในความดูแลได้รับ
การศึกษาภาคบังคับ
สิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรา12
รัฐ
เอกชน
อปท
บุคคล
ครอบครัว
องค์กรชุมชน
องค์กรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา
สถานประกอบการ
สถาบันสังคมอื่น
สิทธิของบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มาตรา 13
สนับสนุน
จากรัฐ
อบรมเลี้ยงดู
การให้การศึกษา
เงินอุดหนุน
จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แก่บุตรหลาน
ลดหย่อยภาษีหรือยกเว้นภาษี
ค่าใช้จ่ายในการศึกษา
ผู้สนับสนุนการ จัดการศึกษา มาตรา 14
ความรู้ความสามารถ
ในการอบรมเลี้ยงดู
เงินอุดหนุน
การลดหย่อนหรือ
ยกเว้นภาษี
หมวดที่ 3
ระบบการศึกษามาตรา 15-21 มี 3 รูปแบบ
การศึกษาใน
ระบบ
การศึกษาขั้น
พื้นฐาน
ระดับก่อนประถมศึกษา
ระดับประถมศึกษา
ระดับมัธยมศึกษา
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระดับต่ากว่าปริญญา
ระดับปริญญา
การศึกษา
นอกระบบ
การศึกษา
ตามอัธยาศัย
การศึกษา ภาคบังคับ มาตรา 17
ให้การศึกษาภาค
บังคับ 9 ปี
เด็กมีอายุย่างปีที่ 7 เรียนถึง ย่างปีที่ 16 ยกเว้นสอบได้ชั้นปีที่ 9
การนับอายุเป็นไปตามกฎกระทรวง
มาตรา 18
สถานพัฒนา
ปฐมวัย
ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่เรียกชื่อ
อย่างอื่น
โรงเรียน
โรงเรียนของรัฐ เอกชน
โรงเรียนสังกัดสถาบันพุทธ
ศาสนา หรือศาสนาอื่น
ศูนย์การเรียน
สถานที่เรียนที่หน่วยงานจัด การศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ..ชุมชน.และองค์กรต่างๆเป็นผู้ จัด
หมวดที่ 4
แนวการจัดการศึกษา
แนวการจัดการศึกษามาตรา 22-30
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคน
มีความสามารถเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองได้
มีความสาคัญที่สุด
กระบวนการจัดต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
การจัดกระบวนการเรียนรู้
จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ
ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการในการ แก้ไขปัญหา
จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ
ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน
จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่
หน้าที่รัฐในการส่งเสริมแหล่งเรียนรู้ มีดังนี้
ห้องสมุดประชาชน
พิพิธภัณฑ์
หอศิลป์
สวนสัตว์
อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬา
สวนพฤกษสาสตร์
สวนธารฌะ
หมวดที่ 5
การบริหารและการจัดการศึกษา
การบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 33-46
การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
กระทรวงมีอานาจหน้าที่
ส่งเสริมและกากับดูแลการศึกษาทุกระดับ
กาหนดนโยบาย แผน และมาตรฐาน
สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ส่งเสริม ประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและกีฬา
ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษา
ราชการอื่นที่มีกฎหมายกาหนดเป็นอานาจหน้าที่ในกระทรวง
การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อปท
จัดการศึกษาได้ทุกระดับ
ความพร้อมและความต้องการของท้องถิ่น
กระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน
การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
มีความเป็นอิสระ
รัฐสนับสนุนด้านเงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี สิทธิประโยชน์อื่นๆ
เป็นนิติบุคคล มีคณะกรรมการบริหาร
กากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและมาตรฐานจากรัฐ
หมวดที่ 6
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
ประกันคุณภาพภายใน
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร
รายงานต่อต้นสังกัด
เผยแพร่ต่อสาธารณชน
ประกันคุณภาพภายนอก
โดยสานักงานรับรองและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ)
อย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกห้าปี
ระบบการประกันคุณภาพในสถานศึกษา
ให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
ระบบการประกันคุณภาพนอกสถานศึกษา
มีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อ หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชนทุก ๆ ปี เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาภายนอก
หมวดที่ 8
ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา มาตรา 48 -62
ระดมทรัพยากรลงทุนการจัดการศึกษา
รัฐ
เอกชน
อปท
บุคคล ครอบครัว ชุมชน
องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน
องค์กรวิชาชีพสถาบันศาสนา
สถาบันประกอบการ สถาบันสังคมอื่น
จัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษา
จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคล รัฐและเอกชนเท่าเทียมกัน
จัดสรรทุนการศึกษา ในรูปกองทุนกู้ยืม จากครอบครัวผู้มีรายได้น้อย
จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นเป็นพิเศษ
หมวดที่ 9
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
หน้าที่ของรัฐ
จัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนาและโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์
ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี
ส่งเสริมและสนับสนุนในการผลิตและพัฒนาแบบเรียน ตารา สื่อ
พัฒนาบุคลากรด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยี
หมวดที่ 7 ครูคณาจารย์ และบุคลากร
ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา มาตรา 52 – 57
องค์กรวิชาชีพ
กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพ
กากับดูแล การปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ
ผู้บริหาร
ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู
ต้องมีใบประกอบวิชาชีพผู้บริหาร
ครู
ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู
คณาจารย์ และผู้บริหารการศึกษาในระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา
ไม่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู
ความหมาย
การศึกษา
กระบวนการเรียนรู้ เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
การศึกษาตลอดชีวิต
การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่าง การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ
การศึกษาตามอัธยาศัย
สถานศึกษา
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษา หรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอานาจหน้าที่หรือ มีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
6.มาตรฐานการศึกษา
ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึง ประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการ ให้เกิดขึ้นใน สถานศึกษาทุกแห่ง และ เพื่อใช้เป็นหลักในการ เทียบเคียงสาหรับการส่งเสริมและกากับดูแล การ ตรวจสอบ การประเมินผล และการประกัน คุณภาพทางการศึกษา
การประกันคุณภาพภายใน
การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่ กากับดูแลสถานศึกษานั้น
การประกันคุณภาพภายนอก
การประเมินและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาจากภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา(สมศ.) หรือบุคคลหรือหน่วยงานที่สานักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการ ประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ผู้สอน
ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ
ครู
บุคลากรวิชาชีพซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการ สอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน
คณาจารย์
บุคลากรซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยใน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับปริญญาทั้งของรัฐและเอกชน
บุคลากรทางการศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้งผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทาหน้าที่ให้บริการ หรือ ปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวน12. บุคลากรทางการศึกษา การเรียนการสอนการนิเทศ และบริหารการศึกษาในหน่วยงานต่าง ๆ
ผู้บริหารสถานศึกษา
บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาแต่ละแห่งทั้งรัฐและเอกชน
14.ผู้บริหารการศึกษา
บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษานอกสถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป