Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๑๗ แนวโน้มหลักสูตรในศตวรรษที่ ๒๑ - Coggle Diagram
บทที่ ๑๗ แนวโน้มหลักสูตรในศตวรรษที่ ๒๑
กรอบแนวคิดหลักสำหรับทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
๑ กรอบแนวคิดของภาคีเพื่อทักษะ ๒๑
๓ ทักษะการเรียนรู้และความคิด
๔ ความรู้พื้นฐานไอที
๒ เนื้อหาสำหรับศตวรรษที่ ๒๑
๕ ทักษะชีวิต
๑ วิชาแกน
๒ กรอบแนวคิด enGauge
๒ การคิดเชิงประดิษฐ์
๓ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
๑ ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิตอล
๔ การเพิ่มผลิตผลในระดับสูง
๓ กรอบแนวคิด องค์กรเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา
๒ ความสามารถด้านปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มที่หลากหลาย
๓ ความสามารถในการโต้ตอบอย่างอิสระ
๑ ความสามารถในการใช้เครื่องมืออย่างมีปฏิสัมพันธ์
๔ สภาผู้นำแห่งชาติเพื่อการศึกษาเสรีและสัญญาของอเมริกา
๒ ทักษะทางปัญญาและเชิงปฏิบัติ
๓ ความรับผิดชอบส่วนตัวและต่อสังคม
๑ ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมมนุษย์และโลกทางกายภาพและโลกธรรมชาติ
๔ การเรียนรู้แบบบูรณาการ
๕ กรอบความคิด สมาคมเทคโนโลยีการศึกษานานาชาติ
๑ ความสร้างสรรค์และนวัตกรรม
๒ การสื่อสารและทำงานร่วมกัน
๓ ความเชี่ยวชาญในการค้นหาข้อมูล
๔ การคิดวิพากษ์ การแก้ปัญหา และการตัดสินใจ
๕ การเป็นพลเมืองดิจิตอล
๖ การใช้เทคโนโลยีและแนวคิด
๖ กรอบแนวคิด ศูนย์บริการทดสอบการศึกษา
๒ ความสามารถทางเทคนิค
๓ ความสามารถด้านไอซีที
๑ ระดับการเข้าถึง
๒ ระดับจัดการ
๓ ระดับบูรณาการ
๔ ประเมิน
๔ สร้างสรรค์
๑ ความสามารถในการคิด
๗ กรอบแนวคิดของเฮนี เจงกินส์อละคณะ
๒ การแสดงบทบาท
๓ การจำลอง
๑ การเล่น
๔ การหยิบฉวย
๕ การทำงานหลายอย่าง
๖ การรู้คิดแบบกระจาย
๗ การใช้ปัญญาแบบหมู่คณะ
๘ การใช้ดุลพินิจ
๘ การกำกับทิศทางผ่านสื่อ
๑๐ การสร้างเครือข่าย
๑๑ การเจรจา
๘ กรอบแนวคิดของดีดี้
๓ การแสดงผ่านการนำเสนอที่ไม่เป็นลำดับเชิงเส้น
๔ การร่วมออกแบบโดยครูและนักเรียน
๒ การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
๑ ความคล่องแคล่วในการช้สื่อหลายรูปแบบ
๙ กรอบแนวคิด ๕ จิตเพื่ออนาคต
๓ จิตแห่งการสร้างสรรค์
๔ จิตแห่งความเคารพ
๒ จิตแห่งการสังเคราะห์
๕ จิตแห่งจริยธรรม
๑ จิตแห่งวิทยาการ
คุณลักษณะที่สำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑
๒ ด้านทักษะการเรียนรู้และการคิด
๓ ด้านทักษะชีวิต
๑ ด้านความรู้
แนวโน้มหลักสูตรในศตวรรษที่ ๒๑
๒ เนื้อหาของหลักสูตร
ทักษะและกระบวนการเรียนรู้
๒ การคิดระดับสูง
๓ การคิดเชิงวิพากษ์
๑ ความอยากรู้/จิตแห่งวิทยาการ
๔ ทักษะการแก้ปัญหา
๔ ทักษะการสังเคราะห์
๖ ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์
๗ ทักษะการทำงานเป็นทีม
๘ ทักษะปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
๙ ทักษะการเรียนตามบริบท
๑๐ ทักษะด้านไอซีที
๑๑ ทักษะการใช้วิธีการเรียนรู้
๑๒ ทักษะการใช้ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร
๑๓ ทักษะการผลิตนวัตกรรม
๑๔ ทักษะการจัดลำดับความสำคัญ
๑๕ ทักษะการวางแผนและจัดการเพื่อมุ่งผลลัพธ์
๑๖ ทักษะการใช้เครื่องมือจริงอย่างมีประสิทธิภาพ
๑๗ ทักษะการสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพและเหมาะสม
๑๘ ทักษะการตั้งคำถามและวิเคราะห์
๑๙ ทักษะการหาแนวโน้มและคาดการณ์ความเป็นไปได้
๒๐ ทักษะการรู้คิด
ทักษะชีวิต
๔ ความรับผิดชอบต่อตนเอง,สังคมและในฐานะพลเมือง
๕ การเข้าถึงคนและความสามารถในการเจรจา
๓ การใช้เหตุผลที่ดี
๖ การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น
๒ ความสามารถในการปรับตัว
๗ ความสามารถในการชี้นำตนเอง
๑ ความเป็นผู้นำ
๘ ความกล้าเสี่ยง
๙ การจัดการความซับซ้อน
๑๐ การรู้จักเพิ่มพูนประสิทธิผลของตนเอง
๑๑ ความสามารถในการสื่อสารแบบโต้ตอบ
๑๒ การมีส่วนร่วมในฐานะผลเมืองในระดับท้องถิ่น,โลก
๑๓ ความเป็นพลเมืองดิจิตอล
๑๔ จิตแห่งความเคารพ
๑๔ จิตแห่งจริยธรรม
ความรู้
๑ จิตสำนึกต่อโลก
.๒ การเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ
๓ ความเป็นผลเมือง
๔ วัฒนธรรมมนุษย์และโลกทางกายภาพและโลกธรรมชาติ
๕ สุขภาพและสวัสดิภาพ
๖ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการสื่อสาร
๗ ความรู้พื้นฐานเชิงทัศนาการ
๘ ความรู้พื้นฐานทางข้อมูลข่าวสาร
๙ ความรู้พื้นฐานทางพหุวัฒนธรรม
๑๐ ความรู้พื้นฐานในเรื่องปริมาณ
๓ การจัดการเรียนรู้ของหลักสูตร
๑ การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑
๒ วิธีประเมินการเรียนรู้แบบใด
๓ ใช้เทคโนโลยีใดจะส่งเสริม ๒๑
๑ การสอน,หลักสูตร,กิจกรรมใดที่ส่งเสริม ๒๑
๔ สภาพแวดล้อมทางกายภาพในการเรียนรู้ชนิดใดจะส่งเสริม ๒๑
๑)ห้องเรียน
๒)โรงเรียน
๓)โลกความจริง
๒ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนนศตวรรษที่ ๒๑
วิสัยทัศน์ที่ ๑ วิสัยทัศน์เพื่อชาติ : โรงเรียนนักคิด,ประเทศแห่งความรู้
วิสัยทัศน์ที่ ๒ วิสัยทัศน์เพื่อการศึกษา : สอนให้น้อยเรียนรู้ให้มาก
วิสัยทัศน์ที่ ๓ วิสัยทัศน์เพื่อการปฏิบัติ : กลยุทธ์ตึงสลับย่อน
วิสัยทัศน์ที่ ๔ วิสัยทัศน์ความร่วมมือ : ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC)
๑ จุดมุ่งหมาย
๒ ให้ผู้เรียนมีทักษะในการจำแนกแยกแยะข้อมูลที่น่าเชื่อถืออย่างมีประสิทธิภาพ
๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ที่กว้างและลึกในหลากหลายเรื่อง
๓ เน้นให้ผู้เรียนมีระบบการคิดที่ดี
การคิดวิเคราะห์
การคิดสังเคราะห์
การคิดสร้างสรรค์
๔ ให้ผู้เรียนมีทักษะชีวิตที่จะชี้นำตนเองได้ ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดี
๕ เน้นให้ผู้เรียนมีจิตแห่งความเคารพตนเองและผู้อื่น
๔ การประเมินผลของหลักสูตร
๑ หลักการประเมินผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑
๒ การประเมินทั้งระดับบุคคลและทีมงาน
๓ การประเมินที่เปิดเผย
๑ การประเมินที่แปรเปลี่ยนไม่ใช่ประเมินตามเงื่อนไจมาตราฐานเดียว
๒ กรอบการประเมินผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑
๓ การสำรวจ
๔ การสร้างสรรค์
๒ การเข้าใจ
๕ การแบ่งบัน
๑ การเรียนรู้
๕ การให้ข้อมูลย้อนกลับจากการประเมิน