Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การพรรณนาข้อมูล - Coggle Diagram
บทที่ 2
การพรรณนาข้อมูล
1.ตารางความถี่ (Frequency Table)
แสดงความถี่/จำนวนนับ
องค์ประกอบ 4 อย่าง
ชื่อตาราง
หมายเลขตาราง
หัวเรื่อง
มักอยู่บนสุดไม่ก็ซ้ายสุด
ตัวเรื่อง
เป็นตัวเลข และความถี่
หมายเหตุ
เป็นสารสนเทศสำคัญที่ไม่สามารถใส่ในตารางได้
นำตัวแปรที่สนใจ
มาจัดกลุ่ม/หมวดหมู่
แจงนับความถี่
หาผลรวม,สรุปจำนวนความถี่ตามลักษณะตัวแปร
นำเสนอในรูปตาราง
ทางเดียว(แสดงหัวข้อเดียว),สองทาง,หลายทาง
2.แผนภูมิแท่ง
ปกด.แท่งสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ความยาว แปรตามความถี่/ค่าของข้อมูล
ข้อดี
ดูข้อมูลง่ายขึ้น
ได้เห็นข้อมูลในเชิงเปรียบเทียบ
3.ความถี่สัมพัทธ์ / ตารางร้อยละ
แสดงสัดส่วนความถี่ของคุณลักษณะต่างๆ เมื่อเทียบกับความถี่ทั้งหมด ในตารางแจกแจงความถี่
หาร้อยละ เพื่อหาสัดส่วนข้อมูลว่ากลุ่มไหนเยอะกว่ากัน
เอาความถี่แต่ละคาบ/ความถี่ทั้งหมด
แผนภูมิวงกลม
หาร้อยละของข้อมูลได้
ทำแผนภูมิวงกลมได้
5.ตารางแจกแจงความถี่
แสดงความถี่ของค่าข้อมูล / ลักษณะต่างๆของตัวแปรที่สนใจ
นำค่าของข้อมูล(เชิงปริมาณ) แจงนับความถี่,สรุปจำนวนความถี่ในแต่ละกลุ่ม
1.หาจำนวนชั้น (k)
ส่วนมาก 5 ขึ้นไปแต่ไม่เกิน 13 ชั้น ขึ้นอยู่กับการกระจายของข้อมูล
ใช้ 2^k > n
n = จำนวนทั้งหมด
2.กำหนดค.กว้างของชั้น (I)
I = max-min / k
หาขีดจำกัด
ขอบล่าง
= ค่าต่ำสุด - [(I*k)- R] / 2
ขอบบน
= ค่าสูงสุด + [(I*k)- R] / 2
4.แจงนับ
นับความถี่เป็นขีดๆ ||||
นับจำนวน
จากที่ขีดๆ |||| = 4
6.ฮิสโทแกรม
แสดงข้อมูลเชิงปริมาณ (ต่อเนื่อง)
เพื่อดูการกระจายของชุดข้อมูลว่ามีการกระจายแบบไหน
ตรงกลางจุดสูงสุด = ความถี่สูงของคนหมู่มาก
เป็นการแจกแจงแบบปกติ
เบ้ขวา
คนส่วนน้อยที่มีคะแนนสูง
เบ้ซ้าย
คนส่วนมากที่มีคะแนนสูง
7.แผนภูมิโพลิกอน
เป็นแผนภาพที่เชื่อมระหว่าง
จุดกึ่งกลางด้านบนของทุกแท่ง (ของฮิสโทแกรม)
แท่งแรก,สุดท้าย ลากจดแกนนอน ระยะห่างเท่ากับความกว้างของแท่ง
8.แผนภาพ
ต้นและใบ
แกนลำต้น
แสดงพิสัยของค่าในหลักสูงสุดของข้อมูล
ใบ
แสดงค่าหลักต่อไปจากแกนต้น
อย่าลืมมมมมมเรียงข้อมูลใหม่
ชั้นต้องเท่ากัน
ข้อดี
รู้ความถี่ รู้จำนวน
จะไม่ lost information
9.แผนภูมิเส้น
แสดงค่าตัวแปรที่ได้จากการลากเส้นเชื่อมค่า
กรณีแกนนอนแทนค่าเวลา
เห็นแนวโน้มของข้อมูลอดีต ช่วยคาดการณ์อนาคต
เชิงเดียว ตัข้อมูลตัวแปรเดียว
เส้นเดียว ประเด็นเดียว
เชิงซ้อน ข้อมูลหลายตัวแปร
หลายเส้น หลายประเด็น
รูปอื่นๆ
แผนภูมิแท่งซ้อน
แผนภูมิแท่งทรงกลม
แผนภูมิแท่งและเส้น
แผนภูมิโดนัท
แผนภูมิวงกลมสามมิติ
แผนภูมิพื้นที่
แผนภูมิเรด้า
แผนภูมิแท่งเทียน