Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.3 ไหลเวียนผิดปกติ Arteriosclerosis และ Hypertention, การพยาบาล - Coggle…
3.3 ไหลเวียนผิดปกติ Arteriosclerosis และ Hypertention
Arteriosclerosis หลอดเลือดแดงแข็ง มักเกี่ยวข้องกับอายุที่เพิ่มขึ้น เกิดจากการหนาตัวของผนังและพัฒนาไปเป็นหินปูน
Atherosclerosis ผนังหลอดเลือดแดงแข็ง เกิดจากปัจจัยต่างๆ เช่น อ้วน สูบบุหรี่
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้หลอดเลือดแข็ง
ปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนได้ การสูบบุหรี่เพราะสารนิโคตินลดการไหลเวียนของเลือดแดงส่วนปลาย เพิ่มความดัน และชีพจรโดยไปกระตุ้นซิมพาเทติก พฤติกรรมบริโภคไขมัน และภาวะไขมันในเลือดสูง เบาหวาน ความดัน อ้วน เครียด ไม่ค่อยเคลื่อนไหว ขาดการออกกำลังกาย Sedentary behavior
ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ อายุที่เพิ่มขึ้น เพศ พันธุกรรม
หลักการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ ตรวจร่างกาย วัดความดันทั้ง2แขน ประเมินการทำงานหัวใจร่วมด้วย ชีพจร capillary filing กลางคนมากกว่า 3วิ ตอนปลาย 5วิ บ่งบอกได้ว่าการไหลเวียนเลือดไม่ดี เท้าเย็น คลำชีพจรไม่ได้ ปัญหาหลอดเลือดแดงมักได้ยิน bruitในหลอดเลือดใหญ่
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ ผู้ที่มีสุขภาพดีระดับคลอเรสเตอรอล ไม่ควรเกิน 200mg/dl LDL-Cน้อยกว่า 130 mg/dl Hypertriglyceridemia ถ้ามากกว่า 190 mg/dl ควรได้รับยา กลุ่ม statin
ให้คำแนะนำ แนะนำมุ่งเน้นในเรื่องการปรับแบบแผนการดำเนินชีวิต มุ่งเน้นควบคุมไขมันในร่างกาย ออกกำลังกายวันละ 40นาที wk ละ 3-4 ครั้ง เพื่อลด LDL-C
Hypertension
คำจัดกัดความ
The Seventh joint national committee ได้ให้คำจำกัดความว่า BPมากกว่า140/90 และมีความดันสูงอย่างน้อย 2ครั้ง ห่างกันอย่างน้อย 2 wk ควรได้รับการวัดซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้งเมื่อมาพบแพทย์
White-coat หมายถึงภาวะที่ความดันโลหิตที่วัดในโรงพยาบาล พบว่า ความดันสูง แต่วัดที่บ้านไม่สูง ควรติดตามวัดความดันที่บ้านเพราะใกล้ชีวิตประจำวัน ความดันไม่สูงเลยไม่จำเป็นต้องรับการรักษาด้วยยา
Masked hypertention วัดที่บ้านสูงแต่มาวัดที่โรงพยาบาลไม่สูง ควรติดตามผลที่บ้าน ถ้าสูงควรได้รับการวินิจฉัยโรคและรับการรักษา
ชนิดของความดันโลหิตสูง
primary hypertension ไม่สามารถทราบสาเหตุที่แน่ชัดอาจเกิดจากปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนได้และปรับเปลี่ยนไม่ได้
secondary hypertension มักพบในคนที่อายุน้อยกว่า 30ปี มักมีสาเหตุอื่นมาก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากโรคไต เลือดไปเลี้ยงไตลดลง กระตุ้นกลไก ระบบเรนนิน แองจิโอเทนซิน
กลไกการควบคุมความดันโลหิต
ตัวรับความดันในหลอดเลือดแดง The arterial baroreceptor system ระบบนี้จะทำหน้าที่ควบคุมความสุมดุลของความดันโลหิต ในระยะเวลาสั้นๆ และเกิดขึ้นเร็วเป็นวินาที เป็นนาที
การควบคุมน้ำในร่างกาย Regulation of body fluid volume
ระบบเรนนิน แองจิโอเทนซิน
การควบคุมตัวเองของหลอดเลือด
อาการอาการแสดง ปวดศีรษะตอนตื่นนอน ปวดบริเวณทอย มึนงงศีรษะ ตามองเห็นไม่ชัด หายใจลำบาก อ่อนเพลีย เจ็บหน้าอก
ภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อหัวใจ หัวใจโต หัวใจวาย ควาผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ
ผลต่อสมอง เกิดภาวะสมองขาดเลือดไปเลี้ยง เลือดออกในสมอง stroke
ผลต่อไต มีภาวะขาดเลือดไปเลี้ยง glomeruli การมี microalbuminuria จัดว่าเป็นตัวบ่งบอกพยาธิสภาพที่ไตตั้งแต่ระยะแรก
หลอดเลือดแดงส่วนปลาย
การวินิจฉัย Hypertension
การซักประวัติ ปวดศีรษะตื่นนอนตอนเช้า ปวดบริเวณท้ายทอย มึนงงศีรษะ โรคประจำตัว ระยะเวลา ประวัติการรักษา การควบคุม ยาที่ใช้ แบบแผนการรับประทานอาหาร รสชาติ การสูบบุหรี่ การออกกำลังกาย
การตรวจร่างกาย การวัดความดันด้วยเทคนิคที่ถูกต้อง คลำชีพจรสม่ำเสมอ การฟัง bruit ที่บริเวณหลอดเลือดแดง carotid และบริเวณท้อง
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ สามารถบอกสาเหตุของsecondary hypertention ได้ เช่น ปัญหาโรคไตตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ cushing's syndrome ตรวจพบค่า serum corticoid ในเลือดสูง
การรักษา
การรักษาโดยใช้ยา
Diuretics
Thiazdes ได้แก่ Hydrochlorothiazde HCTZ จัดเป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูง ราคาไม่แพง แต่ยาจะไปยับยั้งการดูดกลับของ แร่ธาตุ เพิ่มการขับโซเดียม โพแทสเซียม ทิ้งทางปัสสาวะ ต้องแนะนำให้ผู้ป่วยกินอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง ข้อพึงระวัง ยานี้มีผลทำให้เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน และทำให้ยูริกคั่ง
potassium-sparing diuretics ได้แก่ spionolactone อาจใช้ร่วม Thiazdes เพื่อป้องกัน hypokalemia อันนี้จึงต้องแนะนำผู้ป่วยหลีกเลี่ยงอาหารที่มีโปแทสเซียมสูง
loop diuretics ใช้ในกรณีผู้ป่วยที่การทำงานของไตเสื่อมลง
Calcium channel blockers ยับยั้งการเคลื่อนที่ของแคลเซียมจากนอกเซลล์เข้าในเซลล์ ทำให้หลอดเลือดคลายตัว ผลข้างเคียง flushing ปวดหัว แนะนำให้หลีกเลี่ยงผลไม้ที่มีวิตามินซี
ACE Inhibitors มีผลลดการสร้าง angiotensin II ที่ปอดอาจมีอาการไอแห้งๆ
ARBs ต้านAngiotensin II ไม่ให้ออกฤทธิ์ต่อหลอดเลือด และไม่กระตุ้นต่อมหมวกไตหลั่ง แอลโดสเตอโรน
ARA ทำให้อัลโดสเตอโรนไม่สามารถออกฤทธิ์ต่ออวัยวะต่าง ๆได้
Beta-Adrenergic Blocker ส่งผลให้หัวใจเต้นช้าลงและบีบตัวเบาลง
การดูแลโดยปรับเปลี่ยน Lifestyle modification
Hypertensive crisis
Hyperensive Urgencies คือความดันสูงตั้งแต่ 180/100 mmHgขึ้นไป โดยยังไม่มีอาการแสดงใด ๆ ของความผิดปกติ ควรได้รับการรักษาให้ความดันลด ภายใน 24-48 hr ทั่วไปรักษาโดยให้ยาทางปาก ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยเก่าที่รับประทานยาไม่สม่ำเสมอ
Hypertensive emergencies ความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/120 mmHg ร่วมกับอาการของความผิดปกติของอวัยวะเป้าหมาย ได้แก่ สมอง หัวใจ ไต จอประสาทตา ที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน ควรให้ยาที่ออกฤทธืสั้นสามารถปรับขนาดยาได้ง่ายให้ทาง IV
การพยาบาล
การติดตามผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
Normal ตรวจวัดระดับความดันทุก 2ปี
Prehypertension ตรวจวัดระดับความดันซ้ำ ใน 1 ปี
HT stage 1 ตรวจยืนยันว่าเป็นความดันโลหิตสูงจริงหรือไม่ใน 2เดือน
HT Stage 2 ประเมินหรือส่งผู้ป่วยไปรักษาต่อภายใน 1 เดือน
มากกว่า 180/110 ประเมินหรือส่งผู้ป่วยไปรักษาต่อทันทีภายใน 1 wk ทั้งนี้ขึ้นกับสภาพผู้ป่วย
วัดความดันให้ถูกต้อง
แนะนำให้ปรับเปลี่ยนแบบแผนการดำเนินชีวิต
แนะนำให้รับการรักษากับแพทย์อย่างต่อเนื่อง