Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ, นางสาวศศิวิมล ดวงคิด ชั้นปีที่2…
พยาธิสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ
Atelectasis
ถุงลมปอดไม่สามารถขยายได้ตามปกติ ทำให้ถุงลมปอดแฟบ และแลกเปลี่ยนก๊าซไม่ได้
อาการเจ็บหน้าอก
Cardiac บีบรัด คล้ายถูกทับ ร้าวไปแขนหรือไหล่ทั้ง2ข้าง
Pleura เจ็บแปล๊บ(Sharp Pain)เจ็บเวลาหายใจเข้าหรือออก
Chest Wall ปวดแสบร้อนตามแนวเส้นประสาท กดเจ็บบริเวณผิว เห็นการอักเสบบริเวณผิวหรือข้อต่อ
GI Tract เจ็บบริเวณท้องหรือลิ้นปี่ ถ้ากรดไหลย้อนอาการอาจทุเลาหลังลุกยืนหรือดื่มน้ำ
อาการวิทยาทางระบบหายใจ
อาการหายใจลำบาก คือ ความรู้สึกหายใจลำบากต้องพยายามเพื่อหายใจจะพบในผู้ป่วยหรือบุคคลทั่วไปก็ได้
สาเหตุมาจาก
ได้รับสารพิษ(Chemoreceptor stimulation)
ศุนย์กดการหายใจถูกกดหรือกระตุ้นจากยาหรือมอร์ฟีน
ระบบประสาทผิดปกติ
ระบบหายใจและไหลเวียนโลหิตผิดปกติ
โรคหัวใจ โรคปอด และโรคทางการmetabolism
อาการเขียวคล้ำ(Cyanosis)
สาเหตุจากโรคหัวใจละปอดทำให้ออกซิเจนจับกับHemoglobinลดลง
แบ่งเป็น
1.Central Cyanosis ในส่วนกลางของร่างกาย ตรวจพบสีชมพูอยู่ พบในโรคปอดและโรคหัวใจเรื้อรัง
2.Peripheral Cyanosis ในส่วนปลายของร่างกาย ตรวจดูไม่พบสีชมพู พบในsepsis โอกาสเสียชีวิตสูง
ไอ
เป็นกลไกในการตอบสนองของร่างกายต่อสิ่งที่ผิดปกติในทางเดินหายใจเป็นกลไกสำคัญในการกำจัดเชื้อโรค
ประเภทการไอ
1.ไอแบบมีเสมหะ (Productive cought) พบในโรคหลอดลมและBacteria infection
2.ไอแห้ง (Dry cought) พบในโรคหืด ภูมืแพ้ วัณโรคปอด ผลข้างเคียงจากยา ACE Inhibitor
ไอเป็นเลือด (Hemoptysis) พบในโรคมะเร็งหลอดลม ติดเชื้อโดยเฉพาะวัณโรค
อาการนิ้วปุ้ม(Clubbing)
อาการนิ้วปุ้ม(Clubbing)
มาจากการพร่องออกซิเจนเรื้อรัง เกิดการเจริญเติบโตผิดปกติของเนื้อเยื่อเล็บทำให้หลอดเลือดฝอยและเนื้อเยื่อขยายตัวเพิ่ม จำนวนตรวจโดยเอานิ้วชนกันจะต้องไม่พบช่องว่าง(Clubbed)
Pulmonary Edema
ความดันใน Pulmonary Capillary เพิ่มขึ้นนำไปสู่การรั่ว ของเหลวสู่ปอดและถุงลมได้
ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง(Hyperapnia)
คาร์บอนไดออกไซด์ในปอดและเลือดสูงกว่าปกติ PaO2 มากกว่า 45 mmHG
เกิดจาก หายใจช้าหรือตื้นเกินไป มีความผิดปกติจากDead space เพิ่มขึ้น ภาวะsepsis
ภาวะพร่องออกซิเจน (Hypoxia)
พร่องออกซิเจนที่เนื้อเยื่อคือ Hypoxia
พร่องออกซิเจนที่เลือดคือ Hypoxemia
เกิดจากการแพร่ผ่านผนังถุงลมเสีย หายใจช้าหรือตื้นทำให้การระบายอากาศลดลง การอยู่บนที่สูง ระบายอากาศหรือไหลเวียน เลือดที่ลดลง พยาธิสภาพส่งผลให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนแก็ซได้
Covid-19
ก่อโรคในระบบทางเดินหายใจละทางเดินอาหาร ฟักตัว2-4วัน
ติดต่อทาง Droplet และ Direct contact
Community –Acquired Pneumonia
โรคปอดอักเสบชุมชน
อาการ ไข้ เจ็บอก เหนื่อย เสียงปอดผิดปกติ รักษาโดยยาปฏิชีวนะอย่างน้อย5วัน
นางสาวศศิวิมล ดวงคิด
ชั้นปีที่2 เลขที่78