Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Elderly Pregnancy - Coggle Diagram
Elderly Pregnancy
การประเมินและการวินิจฉัยทางการพยาบาล
ประเมินและคัดกรองความพิการของทารก
PND
การเจาะน้ำคร่ำ
การเจาะเลือดทางสายสะดือ
การตรวจคัดกรองสามชนิด
CVS
Ultrasonography
ตรวจคัดกรองเบาหวานโดยการทำ GCT
ประเมินความเสี่ยงหรือความผิดปกติที่อาจพบร่วมกับการตั้งครรภ์
ประเมินทัศนคติต่อการตั้งครรภ์
การประเมินโรคทางอายุรกรรมเดิมที่เป็นอยู่
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์อายุมากและทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์อายุมาก
ด้านจิตใจ
ปรับตัวต่อการตั้งครรภ์ช้า
พัฒนกิจการเป็นมารดาในระยะตั้งครรภ์ล่าช้า
มีการสนับสนุนในการตั้งครรภ์น้อย
เครียด วิตกกังวล อาย
ด้านร่างกาย
ภาวะแทรกซ้อนต่างๆในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
รกเกาะต่ำ (Placenta previa)
รกลอกตัวก่อนกำหนด (Abruptio placeata)
ถุงน้ำคร่าแตกก่อนกำหนด (Premature Rupture of Membrane :PROM)
การตั้งครรภ์นอกมดลูก (Ectopic pregnancy)
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (Oligohydramnios)
แท้ง (Abortion)
หลอดเลือดดำขอดพอง (Varicose veins) ริดสีดวงทวาร (Hemorrhoids) และการอักเสบของหลอดเลือดดำ (Phlebitis)
เบาหวานขณะตั้งครรภ์(Gestational Diabetes Mellitus: GDM)
ระยะการคลอดยาวนาน (Prolong labor) คลอดยาก (Dystocia) ทำให้เสี่ยงต่อการใช้สูติศาสตร์หัตถการต่างๆ
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์(Pregnancy Induced Hypertention: PIH)
ความผิดปกติขอรก (Abnormality of placenta)
การตกเลือดในระยะหลังคลอด (Post partum hemmorage)
เพิ่มความเสี่ยงของการเกิดโรคทางระบบหัวใจ ระบบประสาท กล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อประสาน ระบบไต และระบบทางเดินหายใจ
สตรีตั้งครรภ์อายุมากที่มีโรคประจำตัวเรื้อรังอยู่แล้วมีโอกาสที่จะแสดงอาการมากขึ้น หรือควบคุมยากในระยะตั้งครรภ์
อัตราการตายของมารดาเพิ่มสูงขึ้น
มีโอกาสตั้งครรภ์แฝดสูงจากการใช้เทคโนโลยีการเจริญพันธ์ช่วยในการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ความพิการแต่กำเนิดของทารก
Down's syndrome
Edward's syndrome & Patau's syndrome
กาคลอดก่อนกำหนด (Preterm labor) หรือเกินกำหนด (Prolong labor)
ทารกตัวโต (Macrosomia)
อัตราทุพภาพ และอัตราการตายปริกำเนิดสูงขึ้น
ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย (Low birth weight :LBW)
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์อายุมาก
เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
กรณีที่มีภาวะ Genetic abnormality
ควรให้ทางเลือกทั้งทางบวกและทางลบ ไม่ควรชักนำ และให้การสนับสนุนทางด้านจิตใจและอารมณ์
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติตัว
การดูแลความสะอาดรวมถึงการแต่งกาย
การมีเพศสัมพันธ์
การออกกำลังกาย และการทำงาน
การเดินทาง
กิจกรรมหรือสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
การสังเกตอาการที่ผิดปกติ
การรับประทานอาหารและน้ำ
การมาตรวจครรภ์ตามนัด
กรณีตรวจอาการผิดปกติ
เน้นย้ำให้มาตรวจครรภ์ตามนัด
ตรวจ NST เมื่อ GA 34-36 week ทุกราย
ตรวจคัดกรางเบาหวานในขณะตั้งครรภ์ในไตรมาสที่ 2 และ 3
ประเมินทัศนคติต่อการตั้งครรภ์
เพื่อลดความวิตกกังวลและส่งเสริมการปรับตัวของสตรีตุ้งครรภ์และครอบครัว
ให้คำปรึกษาอย่างเหมาะสมก่อนตรวจวินิจฉัยทารก
แสดงท่าทียอมรับและสนับสนุนเกี่ยวกับการตัดสินใจ
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และรอบครัวพูดระบายความรู้สึก
จัดและสนับสนุนให้สตรีตั้งครรภ์เข้า Mather class และ Group suppoet
สรางสัมพันธภาพทั้งสตรีตั้งครรภ์และครอบครัว
ความหมาย
สตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 35 ปีขึ้นไป เมื่อถึงวันกำหนดคลอด