Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.2 ปัญหาระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
3.2 ปัญหาระบบทางเดินหายใจ
โรคหอบหืด Asthma เป็นภาวะที่ทางเดินหายใจตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆไวเกินไป มากเกินไป hyperresponsiveness เกิด bronchospasmทำให้ทางเดินหายใจตีบแคบ มักเป็นชัวคราว
พยาธิสภาพ
เมื่อมีปัจจัยกระตุ้นเข้ามา ทำให้เกิด Hyperresponsiveness หลอดลมตีบแคบ ทำให้ventilationลดลง หลอดลมมีการหดตัว Bronchoconstriction เยื่อบุหนาขึ้นกว่าปกติ เนื่องจาก Inflammation
การประเมินสภาพ
Exacerbation มักพบแพทย์ด้วยอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน หอบเหนื่อย หายใจ wheezing ของปอด2ข้าง
การตรวจสมรรถภาพของปอด พบ อากาศที่เหลืออยู่FRC เพิ่มขึ้น ปริมาณอากาศที่หายใจออกอย่างแรงใน 1 วินาทีลดลง peak flow มีค่าต่ำลง PEFR ประเมินการตีบแคบ ค่ายิ่งลดลง ตรวจ ABG ตรวจ Pao2 น้อยกว่า 80 Paco2 เพิ่มขึ้น
การรักษา
มุ่งเน้นบรรเทาอาการหอบเหนื่อยและควบคุมมปัจจัยที่เป็นสาเหตุ ลดการหดเกร็งของหลอดลม ให้ผู้ป่วยหายใจได้เพียงพอ โดยใช้ยา Beta agonist ชนิดสูดพ่น เป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูง กรณีหอบรุนแรง ให้ anticholinergic ร่วมด้วย หรือกลุ่ม corticosteroid เพื่อลดการอักเสบ
การพยาบาล
เพื่อให้ร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ ประเมินการหายใจและภาวะพร่องออกซิเจน ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลมตามแผน ให้ออกซิเจนตามแผน จัดท่าให้สุขสบายเพื่อระบายอากาศ ดูแลทางเดินหายใจส่งเสริมการไอ ให้ยาละลายเสมหะตามแผน ให้พักผ่อนเพื่อลดการเผาผลาญ
เพื่อให้ได้สารน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ ดุูแลเพื่อให้ได้รับสารน้ำ 2000-3000ml/day เพื่อให้เสมหะอ่อนตัวระบายออกได้ I/O ดูแลให้กินข้าวอย่างเพียงพอ อาหารที่มีกากใยเพื่อช่วยขับถ่าย
เพื่อให้ผู้ผู้ป่วยมีความรู้ในการปฎิบัติตนและป้องกันการเกิดอาการหอบซ้ำ
การพ่นยา Metered-Dose Inhaler MDI
เขย่า 4-5 ครั้งก่อนใช้ 2.ถอดฝาครอบในท่าตรง 3.หายใจเข้าออกลึกๆ 2-3ครั้ง 4. อมปลายเปิดของเครื่อง หุบปากสนิท 5. หายใจเข้าสุดแล้วกด พร้อมสูดลมหายใจเข้าทางปากช้าๆจนสุด 3-5วิ 6.หายใจเข้าเต็มที่แล้วเอาออก กลั้นหายใจ 10 วิ แล้วหายใจออกทางจมูกช้าๆ 7.ใช้ซ้ำ หลังครั้งแรกประมาณ 1นาที 8. ควรทำความสะอาดปากเพื่อป้องกันเชื้อรา
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง COPD
โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง Chronic bronchitis
มีอาการไอเรื้อรัง มีเสมหะเป็นๆ หายๆ ติดต่อกันอย่างน้อยปีละ 3เดือนติดต่อกัน2ปี โดยไม่มีสาเหตุอื่น
โรคถุงลมปอดโป่งพอง Pulmonary emphysema
ถุงลมปอดมีการขยายตัวโป่งพองมากกว่าปกติ ร่วมกับผนังถุงลมถูกทำลาย ทำให้เกิดการคั่งของอากาศ
การรักษา
การรักษาโดยใช้ยา
ยาขยายหลอดลมที่ใช้บ่อย Beta2 agonist Anticholinergic agent Methylxanthine corticosteroid
การรักษาโดยไม่ใช้ยา วัคซีน การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด การบำบัดด้วยออกซิเจนระยะยาว การรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน o2 canular 1-3ลิตร/นาที ความเข้นข้น 24-31%เพื่อป้องกันการหยุดหายใจ
ถ้าหอบเหนื่อยกระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจโดยการเป่าปาก pursed lip breathing
เพื่อลดการคั่งค้างของเสมหะ
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ
เพื่อให้ผู้ป่วยมีความทนทานในการทำกิจกรรมเพิ่มขึ้น
เพื่อส่งเสริมการนอนหลับพักผ่อน
เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ สามารถปฎิบัติตนได้ถูกต้องและไม่มีกลับมามีอาการกำเริบซ้ำ