Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Recurrent Right cerebellum turmar, นางสาวสุนันทา ภู่เพชร เลขที่ 84 ห้อง B …
Recurrent Right cerebellum turmar
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 22 ปี
CC : เดินเซและแพทย์นัดนอนเพื่อผ่าตัด
PI : 5 ปีก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการเดินเซ แขนขาอ่อนแรง ปวดศีรษะ ตามัว อาเจียนพุ่ง รักษาโดยการผ่าตัด
Subaccipital cranitectomy wish Ventriculostomy คือ การผ่าตัดเปิดกะโหลกบริเวณท้ายทอยและมีเจาะกะโหลกระบายน้ำจากโพรงสมองที่โรงพยาบาลพระนั่งเกล้าและ
ส่งต่อสถาบันมะเร็งเพื่อฉายแสง
2 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล สถาบันมะเร็งฉายแสงพบว่า มีเนื้องอกโตขึ้นจึงส่งต่อพระนั่งเกล้าเพื่อ
ผ่าตัดอีกครั้ง มีอาการอ่อนแรง ตามัว
1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล เดินเซ
พยาธิสภาพ
ปฐมภูมิ
จะไปกดเบียดทำลายเนื้อสมองที่อยู่ติดกันทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวกและทำให้การซึมผ่านของหลอดเลือดมีการเปลี่ยนแปลงส่งผลให้ความดันในกะโหลกศีรษะสูงจะมีอาการตามบริเวณที่มีเนื้องอกกดเบียด
ผู้ป่วย
ทุติยภูมิ
เกิดจากความดันในกะโหลกศีรษะสูงจึงส่งผลให้เกิดการปรับตัว Cushing reflex ทำให้ BPสูง ชีพจรช้าลง หายใจช้าลง
ความหมาย
ภาวะที่มีเกิดจากการเจริญเติบโตอย่างผิดปกติของเซลล์ในสมอง ซึ่งอาจเกิดการรบกวนระบบประสาทและการทำงานของสมอง จนทำให้มีอาการต่าง ๆ ตามมา โดยเริ่มจากอาการปวดศีรษะมาจนกระทั่งกลายเป็นเนื้องอกสมอง
เนื้องอกในสมองมี 4 ระดับ
แบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลัก
ระดับ 1-2 เป็นเนื้องอกธรรมดาไม่อันตราย (Benign Brain Tumors)มีการเจริญเติบโตช้า ไม่ใช่เซลล์มะเร็ง สามารถรักษาให้หายได้ และมีโอกาสน้อยที่ผู้ป่วยจะกลับมาเป็นอีกหลังการรักษา
ระดับ 3-4 เนื้องอกที่เป็นเนื้อร้ายเป็นอันตราย (Malignant Brain Tumors) มีการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์มะเร็ง อาจเกิดขึ้นบริเวณสมอง หรือเซลล์มะเร็งเกิดขึ้นที่อวัยวะอื่นแล้วลามเข้าสู่สมอง เนื้องอกที่เป็นเซลล์มะเร็งจะมีการเจริญเติบโตเรื่อย ๆ อย่างไม่สามารถควบคุมได้ และมีโอกาสที่จะกลับมาเป็นได้อีกแม้เคยผ่านการรักษาไปแล้ว
สาเหตุ
พันธุกรรม
เกิดจากความผิดปกติของยีน
สิ่งแวดล้อมและทางพันธุกรรม
การบริโภคสารอาหารที่มีสารต้านอนุมูลอิสระ
การได้รับสารเคมีบางชนิด เช่น N-nitroso compounds, Aspartame
สิ่งแวดล้อม
การได้เคยได้รับการฉายรังสี
ติดเชื้อ HIV
การที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ
ผู้ป่วยไม่ทราบสาเหตุ
อาการ
Cerebrum
ชักกระตุกไม่รู้ตัว เห็นแสงวูบวาบ แขนขาอ่อนแรง ไม่เข้าใจภาษา
cerebellum
การเดินเซ ใช้เวลาหยิบของที่อยู่ตรงหน้าหลายครั้งจึงจะหยิบถูก มีเสียงดังในหู วิงเวียน บ้านหมุน
อาการเดินเซ เนื่องจากcerebellumทำหน้าที่ควบคุมและประสานงานของการเคลื่อนไหวของร่างกาย
Brainstem
อาเจียน กลืนลำบาก หน้าเป็นอัมพาตหน้าเดียวหรือทั้งสองข้าง ตามองขึ้นบนไม่ได้ รูม่านตาขยาย
ในโพรงสมอง
IICP ปัสสาวะมาก เบาจืด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มีอาการการเดินเซ ใช้เวลาหยิบของที่อยู่ตรงหน้าหลายครั้งจึงจะหยิบถูก มีเสียงดังในหู วิงเวียน บ้านหมุน
การเดินเซ
ตรวจร่างกาย
Glasgow Coma Scale
E4V5M6
Pupil
ทั้งสองข้าง 3 มิลลิเมตร ปฏิกิริยาต่อแสงตาทั้งสองข้าง
สัญญาณชีพ
T = 38.3 องศาเซลเซียส, R = 20 ครั้ง/นาที ,P = 86 ครั้ง/นาที,
BP= 115/74 มิลลิเมตรปรอท
motor power
Grade 5 กำลังปกติ
ตรวจพิเศษ
CT-scan
Suggested residual or recurrent enhancing tumor (4.2x4.0x3.7 cm) at right cerebellum, with mild external herniation via craniectomy bony defect, Comparison with previous study, and interval follow up are recommended
แปลว่า เนื้องอกส่วนที่เหลือหรือเกิดซ้ำ (4.2x4.0x3.7 ซม.) ที่สมองน้อยด้านขวาโดยมีอาการหมอนรองกระดูกเคลื่อนทำให้กดกระดูกกะโหลกศีรษะ
MRI
การรักษา
1.การผ่าตัด
การผ่าตัด Cranitectomy
ผ่าตัดครั้งแรก เมื่อ 5 ปีที่แล้วSubaccipital cranitectomy wish Ventriculostomy
หมายถึง การผ่าตัดเปิดกะโหลกบริเวณท้ายทอยและการผ่าตัดเจาะกะโหลกระบายน้ำจากโพรงสมอง
การผ่าตัด Craniotomy
เปิดกะโหลกศีรษะ นำก้อนเนื้องอกออก(Craniotomy Tumor) สามารถรักษาให้หายขาดได้ในเนื้องอกที่ไม่ร้ายแรงและตัดออกได้หมด ทั้งนี้มีหลักการพิจารณา คือ พยายามผ่าตัดเอาเนื้องอกออกให้มากที่สุด โดย มีการสูญเสียหน้าที่ของระบบประสาทน้อยที่สุด
ปัจจุบันผ่าตัดแบบ Craniotomy Total turmar คือการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเอาก้อนเนื้องอกออกทั้งหมด
การผ่าตัด Burr holes
2.การใช้รังสี
พิจารณาในเนื้องอกที่ผ่าตัดได้ไม่หมด เนื้องอกที่แพร่กระจาย,มะเร็งแพร่กระจายที่ตอบสนองต่อการฉายรังสีรักษา
ผู้ป่วยได้รับการรักษาโดยฉายแสงจากสถาบันมะเร็ง
3.การให้เคมีบำบัด
เนื้องอกชนิดร้าย Temozolamide รักษาGlioblastoma multiforme เพิ่มอัตรารอดชีวิตมะเร็งแพร่กระจายมีการใช้ยาที่ออกฤทธิ์หลายตำแหน่ง เช่น สารยับยั้งการสร้างหลอดเลือด AGF,สารต้านการแบ่งตัวของเซลล์,สารเร่งการทำลายเซลล์มะเร็ง ซึ่งอยู่ในระหว่างการวิจัย
5.กายภาพบำบัด
ในผู้ป่วยมีความพิการ ต้องการกายภาพบำบัด
4.การรักษาด้วยยา
Steroid ลดภาวะบวมของสมองได้ดีและการให้ฮอร์โมนทดแทนในเนื้องอกต่อมใต้สมอง
Ceftriaxone 2 g vien
ทุก 12 ชม.
fosfomycin 4 g. vien
ทุก 8 ชม.
การป้องกันและรักษาโรคแทรก
โรคลมชัก:ให้ยากันชัก
Depakin(500) 1 เม็ด ทางปากหลังอาหารเช้า เย็น
ภาวะเกลือแร่ผิดปกติ:เกลือโซเดียม อาจต่ำในภาวะ Salt westing,
อาจสูงในภาวะ DI เนื่องจากความผิดปกติของฮฮร์โมน ADH ต้องรักษาให้โซเดียมอยู่ในเกณฑ์ปกติ
โรคติดเชื้อ:ให้ยาปฏิชีวนะ
Ceftriaxone 2 g vien
ทุก 12 ชม.
fosfomycin 4 g. vien
ทุก 8 ชม.
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.มีโอกาสเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงเนื่องจากมีการผ่าตัดที่บริเวณศีรษะตำแหน่งท้ายทอยข้างขวา
2.ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัดบริเวณศีรษะตำแหน่งท้ายทอยข้างขวา
3.เสี่ยงเกิดการติดเชื้อเนื่องจากมีแผลผ่าตัดบริเวณศีรษะตำแหน่งท้ายทอยข้างขวา
4.มีไข้เนื่องจากมีการติดเชื้อแผลผ่าตัดบริเวณศีรษะตำแหน่งท้ายทอยข้างขวา
5.วิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย
นางสาวสุนันทา ภู่เพชร เลขที่ 84 ห้อง B