Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Circulatory System, นางสาว สิริกร แสนจะบก รหัสนิสิต 63010410104 คณะ…
Circulatory System
Cardiovascular system
หน้าที่
นำออกซิเจนจากปอดไปยังเซลล์ทั่วร่างกายและนำคาร์บอนไดออกไซด์จากการสร้างของเซลล์ต่างๆไปที่ปอด
ลำเลียงสารอาหาร
นำของเสียจากเซลล์ไปขับออกที่ไต
ควบคุมอุณหภูมิ
ช่วยลำเลียงฮอร์โมนไปยังเซลล์เป้าหมาย
ป้องกันร่างกายจากสิ่งแปลกปลอม
ป้องกันการเสียเลือด
หัวใจรูปร่างคล้ายปิรามิด ปลายยอด(apex)
-เฉียงไปทางซ้ายและวางบนกระบังลม ฐานของหัวใจ(base)อยู่ทางด้านหลัง
หัวใจอยู่ในถุงเยื่อหุ้มหัวใจ โดยอยู่ระหว่างปอด2ข้าง ที่บริเวณส่วนกลางของช่องอก(mediastinum)
Pericardium เยื่อหุ้มเซลล์
Fibrous pericardium ชั้นนอกสุด
Serous pericardium ชั้นในสุด
1.parietal layer ติดกับ fibrous pericardium
2.visceral layer แนบไปกับหัวใจ
Clinical impact
pericarditis การอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ
cardiac tamponade ภาวะหัวใจบีบรัด
Cardiac orientation
1)Anterior(sternocostal)suface
ประกอบด้วยหัวใจห้อง Right ventricle เป็นส่วนใหญ่และRight atrium กับLeft ventricleเล็กน้อย
หัวใจห้องล่างทั้งสองแยกจากกันด้วยร่อง Anterior intervenricular sulcus
หัวใจห้องบน-ล่างด้านขวา แยกจากันด้วยร่องที่วนรอบหัวใจ ชื่อ coronary sulcus
2)Inferior(diaphragmatic)suface
ประกอบด้วยหัวใจLt.ventricle เป็นส่วนใหญ่ และRt.ventricle เล็กน้อย
หัวใจก้องล่างทั้งสองแยกจากกันด้วยร่องชื่อ Posterior interventricular sulcus
Inferior surface แยกจากบริเวณ base surface ด้วยแอ่งของหลอดเลือดดำชื่อ coronary sinus
3)Posterior(base)suface
พื้นที่บริเวณสี่เหลี่ยผืนผ้า
ประกอบด้วยหัวใจห้อง Right atrium เป็นส่วนใหญ่
พื้นที่ส่วนน้อยเป็น Right atrium และจุดเริ่มต้นของหลอดเลือดดำใหญ่ ได้แก่ SVC,IVCและpulmonary veins
4)Right pulmonary suface
5)Left pulmonary
Heart wall ผนังของหัวใจ
1)Epicardium
ชั้นในเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่มีไขมันแทรก
2)Myocardiumใยกล้ามเนื้อหัวใจพันรอบหัวใจทั้งแนวเส้นทแยงและแนวขวาง ทำหน้าที่สูบฉีดเลือดออกจากหัวใจ
3)Endocardium
มีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันบางๆ
Heart chambers ห้องหัวใจ
1)Right atrium หัวใจห้องบนขวา
เป็นโพรงเป็นส่วนใหญ่ ผนังบาง มีส่วนเล็กๆยื่นออกไปข้างหน้ามีลักษณะคล้ายใบหู เรียกว่า auricle มีสันนูนชื่อ Crista terminalis บริเวณหน้สสันนูนจะมีลักษณะเรียบ ส่วนบริเวณหน้าสันนูนจะมีมัดใยกล้ามเนื้อนูนขึ้นเป็นเส้นเล็กๆลักษณะคล้ายซี่หวี เรียกว่า musculi pectinati พบรอยบุ๋มตื้นๆรูปไข่ชื่อ fossa ovalis
superior vena cava
inferior vena cava
coronary sinus
2) Right ventricle หัวใจห้องหัวใจวาย
หัวใจห้องล่างขวารับเลือดจากห้องบนขวาโดยผ่านลิ้นหัวใจชื่อ tricuspid valve และส่งเลือดผ่านลิ้นหัวใจชื่อ pulmonary valve ไปยังหลอดเลือด Pulmonary trunk. ผ่าน pulmonary arteries ไปสู่ปอด trabeculae carneae แบบนูนเป็นสันๆไม่สม่ำเสมอ papillary muscles เป็นปุ่มเรียวๆ กล้ามเนื้อ papillary ยึดกับ tricuspid valve ด้วยเอ็นเส้นเล็กๆ เรียกว่า chordate tendineae มีseptomarginal หรือ moderator band เป็นสันขนาดใหญ่ และเป็นส่วนหนึ่งของระบบไฟฟ้าหัวใจ
3) Left atrium หัวใจห้องบนซ้าย
หัวใจห้องบนซ้ายมีขนาดเล็กที่สุดในหัวใจทั้ง4ห้อง จะรับเลือดที่มีออกซิเจนสูงจากปอดผ่านทาง pulmonary veins 4 เส้น และด้านล่างติดกับหัวใจห้องล่างซ้าย มีลิ้นหัวใจกั้น ชื่อ
left( bicuspid) atrioventricular ความหนาของ left atrium และ right atrium ใกล้เคียงกัน ด้านในของ left atrium มีผิวเรียบทั้งส่วนหน้าและส่วนหลัง ยกเว้นใน auricle มีผิวขรุขระ
4) Left ventricle หัวใจห้องล่างซ้าย
หัวใจห้องล่างซ้ายมีขนาดใหญ่และผนังหนาที่สุด ทำหน้าที่หลักในการสูบฉีดเลือดไปทั่วร่างกายโดยผ่านลิ้นหัวใจ aortic semilunar valve เลือดออกจาก lift ventricle ผ่านลิ้นหัวใจ aortic valve เข้าสู่ ascending aorta จากนั้นเลือดส่วนหนึ่งไหลเข้าสู่ coronary arteries เพื่อนำไปเลี้ยงผนังหัวใจ
Heart valve ลิ้นหัวใจ
1) Atrioventricular (AV) valves
ลิ้นหัวใจประเภทนี้กั้นระหว่าง atrium และ ventricle
tricuspid valve
เป็นลิ้นหัวใจที่อยู่ซีกขวา ประกอบด้วยแผ่น 3 แผ่น คือ anterior, posterior, septal cusps แต่ละแผ่นมีเส้น fibrous ลักษณะคล้ายสาบร่มชูชีพ chordae tendineae กล้ามเนื้อ papillary muscles ป้องกันไม่ให้ลิ้นหัวใจตลบย้อนขึ้นไปยังหัวใจ
Bicuspid (mitral) valve
เป็นลิ้นหัวใจที่อยู่ทางซ้าย ประกอบด้วยแผ่น 2 แผ่น คือ anterior , posterior
2) Semilunar valves
หลอดเลือดแดงที่นำเลือดออกจากหัวใจมี 2 หลอด โดยแต่ละหลอดเลือดจะมีลิ้นหัวใจป้องกันเลือดไหลย้อนกลับสู่หัวใจ เรียกว่า semilunar valves
Pulmonary valve
กั้นระหว่างห้อง right ventricle กับหลอดเลือด pulmonary trunk ที่นำเลือดไปที่ปอด
Aortic valve
กั้นระหว่างหัวใจห้อง left ventricle กับหลอดเลือด aorta ที่นำเลือดออกจากหัวใจไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
Cardiac tissue เนื้อเยื่อหัวใจ
1) cardiac muscle fibers กลุ่มเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ
2) Nodal cells กลุ่มเซลล์พิเศษ สามารถสร้างคลื่นไฟฟ้าได้โดยอัตโนมัติ
sino-atrial node (SA node)
strip-ventricular node (AV node)
3) Conducting cells กลุ่มเซลล์ที่ทำหน้าที่นำคลื่นไฟฟ้าในหัวใจ
Heart sound เสียงหัวใจ
1.เสียงหัวใจที่หนึ่ง (lub) เป็นเสียงต่ำ ได้ยินชัดเจนและระยะยาว
2.เสียงหัวใจเสียงที่สอง (dub) เกิดขณะลิ้นหัวใจaorta และ pulmonary ปิด
3.เสียงหัวใจเสียงที่สาม เป็นเสียงที่เกิดในระยะคลายตัว
4.เสียงหัวใจเเสียงที่สี่ ไม่ได้ยินต้องดูจากภาพบันทึกเสียงของหัวใจ
Auscultation area บริเวณฟังเสียงของลิ้นหัวใจ
1)Aorta valve
ข้างงขวาชิดกับขอบขวาของกระดูก sternum
2) Pulmonary valve
ข้างซ้ายชิดกับขอบซ้ายของกระดูก sternum
3) Tricuspid valve
ด้านซ้ายชิดกับกระดูกหน้าอก
4) Mitra valve ข้างซ้าย ที่ midclavicular line เป็นบริเวณที่ฟังเสียงได้ชัดที่สุด PMI
Position of the heart
Anterior : thesternum
Posterior : the vertebral column
Lateral : the two lungs
Inferior : the diaphragm
Base : 2 intercostal space
Apex : 5 intercoastal space, mid clavcular line
Lymphatic circulatory system
ประกอบด้วย
1) น้ำเหลือง
2) หลอดเลือด
3) เนื้อเยื่อน้ำเหลือง
4) อวัยวะน้ำเหลือง
หน้าที่ของต่อมน้ำเหลือง
1)สร้างเม็ดเลือดขวาบางชนิด
2)รวบรวมของเหลวและสารละลายจากเนื้อเยื่อ เพื่อนำเข้าสู่ระบบหลอดเลือด
3)สร้างภูมิคุ้มกันโรค
4)กรองน้ำเหลืองโดยการกำจัดสิ่งแปลกปลอมที่ปนมากับน้ำเหลือง
หลอดน้ำเหลือง Lymph vessels
พบได้ทั่วไปเกือบทุกบริเวณของร่างกายที่มีหลอดเลือดไปเลี้ยง ยกเว้น กระดูก ฟัน และไขกระดูก
Main lymphatic ducts
1)Thoracic duct
รับน้ำเหลืองจากช่องท้อง ช่องเชิงกราน ขา และครึ่งซีกของบริเวณศีรษะ คอ หน้าอก
2) Right lymphatic duct
รับน้ำเหลืองจากส่วนของร่างกายที่เหลือจากที่ระบายสู่ thoracic duct ได้แก่ แขนขา ศีรษะ คอ อก ครึ่งซีกขวา
Lymphocytes
1) T cell (thymus-dependent)
cytotoxic T cells มีหน้าที่กำจัดเซลล์แปลกปลอมหรือเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส
Helper T cells มีหน้าที่ช่วยกระตุ้นทั้ง T และ B cells
Suppressor T cells มีหน้าที่ยับยั่งการทำงานของ T และ B cells
2) B cell ( Bone marrow-derived)
ถ้าB cells ถูกกระตุ้นจะเปลี่ยนไปเป็น plasma cells
3) NK cell (Natural Killers)
มีหน้าที่กำจัดเซลล์แปลกปลอม หรือเซลล์ติดเชื้อไวรัส หรือเซลล์มะเร็ง
การจัดเรียงตัวของเนื้อเยื่อน้ำเหลือง
1) ชนิดกระจาย (Diffuse lymphoid tissue)
2) ชนิดกลุ่ม (Lymphoid follicles หรือ lymphatic nodules
3) ต่อมทอนซิล (Tonsil)
มีหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น เชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายทางลมหายใจส่วนบนและทางเดินอาหารและกรอง tissue fl
4) ต่อมน้ำเหลือง (Lymph nodes)
ด้านที่โค้งนู้นมีหลอดเลือดนำน้ำเหลืองเข้า เรียกว่า Afferent lymphatic vessel
ด้านเว้ามีหลอดน้ำเหลืองออก เรียกว่า Efferent lymphatic vessel
ภายในต่องแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
เนื้อชั้นนอก Cortex เป็นส่วนที่มีสีเข้มประกอดด้วยเซลล์หนาแน่น
เนื้อชั้นใน Medulla ติดสีจางมีเซลล์จัดเรียงตัวคล้ายกิ่งไม้กระจายอยู่ทั่วไป
หน้าที่
1.สร้างและเป็นแหล่งที่อยู่ของเม็ดเลือดขาว
2.สร้างภูมิต้านทานโดย B lymphatic เจริญไปเป็น plasma cells
ต่อมน้ำเหลืองเป็น lymphoid organ เพียงอย่างเดียวที่ทำหน้าที่กรอกน้ำเหลือง
5) ต่อมไทมัส ( Thymus gland)
ตั้งอยู่บริเวณทรวงอกรอบเส้นเลือดใหญ่ จะเจริญไปเป็นไขมันเมื่ออายุมากขึ้น
ต่อมมีแคปซูลหุ้มซึ่งเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ภายในแถบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมีเส้นเลือดมาเลี้ยงต่อม
แต่ละพูย่อยแบ่งออกเป็น 2 บริเวณ
-บริเวณรอบนอกติดสีเข้ม Cortex
-บริเวณตรงกลางติดสีจาง Medulla
สร้างฮอร์โมนที่ชื่อว่า ไทโมซิน thyymosin
6) ม้าม (Spleen)
เป็นอวัยวะต่อมน้ำเหลืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
มีกระดูกซี่โครง 9,10,11 บังอยู่
หน้าที่
สร้าง lymphocytes และ plasma cells
ทำลายเม็ดเลือดแดงที่แก่แล้ว
แหล่งเก็บสะสมธาตุเหล็กและเก็บสะสมเลือดไว้เมื่อร่างกายต้องการเลือดเพิ่ม
สร้างภูมิคุ้มกันโรคและทำลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย
สร้างเม็ดเลือดแดงขนาดเป็นทารกในครรภ์
Cardiovascular system
Blood vessels หลอดเลือด
1) Arteries( หลอดเลือดแดง) คือ หลอดเลือดที่นำออกจากหัวใจ
large (elastic) artery
medium artery
small artery
2) Capillaries(หลอดเลือดฝอย)
ประกอบด้วย Endothelial cells ชั้นเดียว
เกิดการแลกเปลี่ยนสารและแร่ธาตุต่างๆ ระหว่าง plasma กับ tissue fluid
Contiuous capillaries
หลอดเลือดฝอยชนิดนี้พบมากที่สุด พบในกล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบและกล้ามเนื้อหัวใจ เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ผิวหนัง
Fenestrated capillaries
พบที่เนื้อไต ต่อมไร่ท่อ และลำไส้เล็ก
3) Sinusoid capillaries
พบที่ตับ ม้าม และไขกระดูกแดง
3) Veins (หลอดเหลอดดำ)คือ หลอดเลือดกลับเข้าสู่หัวใจ
venule
-.medium vein
large vein
ผนังของหลอดเลือดแบ่งออกเป็น 3 ชั้น
1) Tunica intema
ชั้นในสุด มีเยื่อหุ้มบุ simple squamuos epithelium เรียกว่า Endothelium
2) Tunica media
ชั้นกลาง มีกล้าวเนื้อเรียบเรียงตัวอยู่โดยรอบเป็นชั้นๆ
ถ้าเป็นเส้นเลือดขนาดใหญ่ เช่น aorta จะมี elastic tissue อยู่มาก
3) Tunica adventitia
ชั้นนอก มีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดคลอลาเจนและอิลาสติก
ส่วนนี้อยู่ติดกับเนื้อเยื่อของอวัยวะอื้น
ในชั้นนี้ถ้าเป็นเส้นเลือดที่มีขนาดใหญ่จะมีเส้นเลือดเล็กๆมาเลี้ยงผนังชั้นนี้ด้วย เรียกว่า vasa vasorum
The blood circulatory circuit
วงจรการไหลเวียนของเลือด
Arteries of the Head and Neck
External carotid arteries
ให้แขนง 8 แขนง เลี้ยงส่วนต่างๆของศีรษะและลำคอยกเว้นสมอง
Internal carotid arteries
เลี้ยงส่วนต่างๆของสมองทางด้านหน้า และมีแขนงไปเชื่อมกับ vertebral arteries
Vertebral arteries
เป็นแขนงของ subclavian arteries นำเลือดไปเลี้ยงสมองทางด้านหลัง มีแขนงเชื่อมกับ internal carotid arteries ทำให้เกิดเป็นวงจรบริเวณฐานสมอง เรียกว่า circle of willis
The Cricle of Willis
ระบบเลือดที่มาเลี้ยงสมองประกอบด้วย หลอดเลือดที่มาจาก 2 แหล่ง คือ
1.internal carotid system
2.vertebra-brasilar system
Veins of the Head and Neck
Arteries of Thoracic wall
Veins of Thoracic wall
Azyos vein เป็นเส้นเลือดดำที่อยู่ในช่องอกข้างขวา รับเลือดมาจากเส้นเลือดดำ ที่อยู่ด้านหลังของช่องท้องกับช่องอก
Arteries of the Abdomen
1)Celiac trunk
เลี้ยงที่ กระเพาะอาหาร ตับอ่อน ม้าม ตับ
2) Superior mesenteric artery
เลี้ยงที่ lower duodenum , small intestine and cecum, ascending, colon , 2/3 transverse colon (ลำไส้ใหญ่)
3) Inferior mesenteric artery
เลี้ยงที่ 1/3 transverse colon , descending colon , sigmoid colon , rectum
Veins of Upper limb
Arteries of Lower limb
1) Internal iliac arteries
เลี้ยงอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
2) Femoral arteries
เลี้ยงผิวหนังและกล้าเนื้อต้นขา
3) Anterior tibial arteries
เลี้ยงกล้ามเนื้อ anterior compartment of leg
4) Posterior tibial arterior
เลี้ยงกล้ามเนื้อ posterior compartment of leg
veins of lower limb
1)Deep
2)Superficial groups
-the great saphenous vein
-the small saphenous vein
Great saphenous vein
เป็นหลอดเลือดดำที่ยาวที่สุดในร่างกาย นิยมเอาไปทำ coronary bypass
Median cubical vein
นิยมใช้ในการเจาะเลือด
ตำแหน่งที่สามารถคลำชีพจรได้
1)Superficial temporal artery
2)Common carotid artery
3)Facial artery
4)Axillary artery
5)Brachial artery
6)Radial artery
7)Femoral artery
8)Popliteal artery
9)Dorsalis pedis artery
10)Poterior tibial artery
Blood
ส่วนประกอบของเลือด
1)cells or corpuscles เม็ดเลือด มีอยู่ประมาณ 45%
2)plasma พลาสมา เป็นส่วนที่เป็นน้ำของเลือด มีอยู่ประมาณ 55%
เม็ดเลือดมีอยู่3ชนิด คือ
เม็ดเลือดแดง (Red blood cell) 44%
ไมีมีนิวเคลียส
รูปร่างคล้ายโดนัท
บรรจุ hemoglobin
นำออกซิเจนที่เลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
มีอายุอยู่ได้แค่120วัน
เม็ดเดือดขาว (White blood cell) 1%
มีนิวเคลียส
สามารถเคลื่อนไหวแบบคืบตัวเหมือนอะมีบา จึงสามารถเคลื่อนที่ผ่านรูเล็กๆของผนังหลอดเลือดฝอยออกมานอกหลอดเลือดได้
1) มี granule “granulocyte”
-เห็น specific granules กระจายใน cytoplasm
-มีนิวเคลียสแบ่งเป็น lobe
-มี cytoplasm มาก
2) ไม่มี granule “agranulocyte”
-นิวเคลียสไม่แบ่งเป็น lobe
-ไม่มี specific granules
เกล็ดเลือด (Blood platelets)
มีขนาดเล็ก รูปร่างกลมเหมือนจาน
ไม่มีสี ไม่มีนิวเคลียส สร้างเซลล์ที่มีชื่อว่า Megakaryocyte
มีอายุประมาณ 5-10 วัน
ถูกทำลายที่ตับและม้าม
หน้าที่เกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
นางสาว สิริกร แสนจะบก
รหัสนิสิต 63010410104
คณะ พยาบาล