Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.การทำงานเพื่อสังคม ท้องถิ่นและโรงเรียน - Coggle Diagram
6.การทำงานเพื่อสังคม ท้องถิ่นและโรงเรียน
•1. แนวทางในการทำงานเพื่อสังคมและท้องถิ่น
• 1. มีความประพฤติที่ซื่อตรงมีความคิด เป็นอิสระในการเลือกที่จะอาสาจะทาหรือไม่ทาตามความสามารถ ประสบการณ์ และความรู้หรือมีพรสวรรค์
• 2. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และต่อสังคม รวมทั้งการกระทาที่เป็นประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่มบุคคล และส่วนรวม
• 3. ไม่หวังรางวัล หรือผลตอบแทนเป็นเงินทอง และไม่ใช่เป็นภาระหน้าที่ การงานที่ต้องปฏิบัติอยู่แล้วตามหน้าที่
• 4. ต้องมีความรักความปรารถนาที่จะให้ และมีจิตใจที่จะทาความดี เข้าใจ และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น รวมถึงการเสียสละเวลา โดยไม่หวังสิ่งตอบแทนใด ๆ
•2. การสร้างเครือข่ายและพลังสังคม
ปัจจุบันมีผู้สนใจในเรื่องเครือข่ายกันมากขึ้น ด้านหนึ่งเป็นเพราะสังคมทุกวันนี้มีความสัมพันธ์กันในทางราบและสลับซับซ้อนมากขึ้นกว่าแต่ก่อน นักทฤษฎีบางคนถึงกับเรียกว่าเป็นสังคมเชิงเครือข่ายเลยทีเดียว อีกด้านหนึ่งภาคธุรกิจก็นำแนวคิดการจัดการเชิงเครือข่ายมาใช้ในการพัฒนาระบบการขายสินค้าและบริการของตนจนประสบความสำเร็จที่น่าทึ่งภายในระยะเวลาที่รวดเร็ว จึงทำให้เครือข่ายเป็นหัวข้อสำคัญส่วนหนึ่งที่นักบริหารภาครัฐควรศึกษาค้นคว้าให้เข้าใจและนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงาน
•3. การร่วมกันสนุบสนุนภารกิจของโรงเรียน
เสียลสละและทรัพย์สิน
บริจาควัสดุ อุปกรณ์ เพื่อสร้างโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร
บริจาคอาหาร ขนม เครื่องดื่ม แก่เด็กกำพร้า
บริจาคเงินทำบุญเพื่อบุรณะวัด
บริจาคเครื่องนุ่งห่มแก่ผู้ประสบภัยหนาว
การเสียสละและแรงกาย
ซ่อมแซมสาธารณสมบัติภายในชุมชน
ปลูกต้นไม่เพื่อให้ร่มเงาแก่สถานที่สาธารณะ
ช่วยขนย้ายสิ่งของเมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น น้ำท่วม ไฟไหม้ แผ่นดินไหว หรืออุบัติภัยต่างๆ
เก็บขยะ ทำความสะอาดถนน และปรับภูมิทัศน์ภายในชุมชน
การเสียสละความรู้ สติปัญญา และจิตใจ
ให้คำปรึกษาแก่ผู้ที่มีปัญหาด้านต่างๆ
ให้กำลังผู้ที่กำลังประสบภาวะเดือดร้อน
แนะนำข้อคิดที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตให้ผู้อื่น
เตือนสติให้ข้อคิดผู้ที่กำลังะกระทำในสิ่งที่ผิด
ถ่ายทอดความรู้ ความถนัดของตนเองให้ผู้อื่นนำไปใช้ประโยชน์
•4. ข้อจำกัด ข้อควรระวังในการทำงานเพื่อส่วนรวม
4.รับฟังข้อเสนอแนะของผู้ที่ติคนต่อไป หากข้อเสนอแนะใหม่เป็นสิ่งที่ดีก็เปิดใจยอมรับแล้วมาช่วยกันลงมือทำให้เป็นจริงขึ้นมา
3.ในการเสนอวิธีการแก้ไขข้อบกพร่อง ความผิดพลาดต่าง ๆ นั้นก็เป็นไปได้ที่จะมีคนอื่นเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยผู้ที่ติก่อนควรเปิดใจยอมรับให้ผู้อื่นติตนเองด้วยแม้ว่าเรื่องที่ตินั้นยังเป็นเพียงข้อเสนอ ยังไม่ได้ลงมือปฏิบัติก็ตาม
2.ติโดยแสดงข้อที่ผิดพลาดหรือข้อบกพร่องที่ต้องแก้ไข โดยมีเจตนาจะช่วยแก้ไขและเสนอวิธีแก้ไขในเรื่องนั้น ๆ ในความคิดเห็นของตนว่าควรจะทำอย่างไร
ชมก่อนติต้องยอมรับในความดีที่คนอื่นเขาทำ ที่คนอื่นเขามีก่อนเพื่อให้เกิดการยอมรับและไว้ใจต่อกัน ว่าต่างฝ่ายต่างมีความปรารถนาดีต่อกันจริง ๆ