Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การสงเสริมครุในเรื่องของประเด็นและทักษะพื้นฐานในการให้คำปรึกษาแ…
บทที่ 10
การสงเสริมครุในเรื่องของประเด็นและทักษะพื้นฐานในการให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียน
ความหมายการให้คำปรึกษา
การให้คำปรึกษา
เป็นกระบวนการที่ครูจะให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เรียนในการจัดการกับ ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัยความร่วมมือระหว่างครูกับผู้เรียน ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ขึ้นอยู่กับความสามารถและแรงจูงใจของทั้งครูและผู้เรียน
คุณภาพของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างการตลอดจนปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
ทักษะที่จำเป็นในการให้คำปรึกษาได้แก่
ทักษะในการเป็นผู้ฟังที่ดี
ศิลปะในการเอาใจใส่
ศิลปะในการสืบสวนเรื่องราว
ทักษะในการมีส่วนร่วม
การช่วยเหลือผู้เรียนให้รู้จักท้าทายกันเอง
ประเด็นและหลักจริยศาสตร์ที่สำคัญในการให้คำปรึกษา
หลักจริยศาสตร์
หมายถึง ระบบของหลักการในการปฏิบัติที่นำไปสู่การสร้างพฤติกรรมของแต่ละบุคคล
การเคารพในตัวผู้เรียนและการไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้เรียน
การเคารพในตัวผู้เรียน
ไม่เลือกปฏิบัติ
ปฏิบัติด้วย
ความเป็นธรรม
เคารพความแตกต่าง
ระหว่างผู้เรียน ทั้งเพศ สถานภาพทางสังคม วัฒนธรรม ชาติพันธ์ ศาสนา
ความไว้ใจได้
หมายถึง
การไม่เปิดเผยสิ่งที่ครูได้รับรู้มาจากผู้ให้คำปรึกษา
เป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดในการสร้างความไว้วางใจระหว่างครูและผู้เรียน
ให้คำปรึกษาที่ห้องพักครู หรือในพื้นที่ส่วนตัว
แต่อาจจะเปิดเผยเผย ข้อมูล หรือความลับได้ เมื่ออยู่ใน
สถานการณ์ที่อันตราย
หรือ
สถานการณ์ทางกฏหมาย
เช่นการให้การต่อศาลเป็นต้น
การดูแลเอาใจใส่
ดูแลเอาใจใส่ผู้เรียนตามความสามารถของครู
หากครูยังขาดประสบการณ์ที่เพียงพอที่จะรับมือเองได้ ก็สามารถ
ขอความช่วยเหลือ
จากครูที่มีประสบการณ์มากกว่า ผู้เชี่ยวชาญ หรือหน่อยงานที่ภายนอก เช่น นักจิตวิทยา ตำรวจ เป็นต้น
การเตรียมการให้คำปรึกษา
ครูต้องมีทักษะในการให้คำปรึกษาดังแผนภูมิต่อไปนี้
รู้ประเภทของผู้เรียนที่ประสบปัญหา
ปัญหาทางวิชาการ
ระเบียบวินัย
ทางสังคม
อารมณ์
ทักษะที่จำเป็นในการให้คำปรึกษา
1.ทักษะในการมีส่วนร่วม
ความหมายการมีส่วนร่วม
คือ การที่ครู ร่วมมือกับผู้เรียนทั้งทางกายภาพและทางจิตวิทยา การมีส่วนร่วมที่มีประสิทธิภาพจะเป็นสัญญาณบ่งบอกให้ผู้เรียนรู้ว่าครูเข้าใจพวกเขาและพร้อมจะรับฟังปัญหาของพวกเขาอย่างตั้งใจ
ทักษะการมีส่วนร่วม
การเผชิญหน้ากับผู้เรียน
การใช้ท่าทางที่เปิดเผย
การโน้มตัวเข้าหาผู้เรียน
การสื่อสารทางสายตา
สงบผ่อนคลายและเป็นธรรมชาติ
ศิลปะในการเอาใจใส่
ความหมายการเอาใจใส่
ความเอาใจใส่
คือความสามารถในการสื่อให้ผู้เรียนรับรู้ถึงความเข้าใจที่ครูมีต่อพวกเขาซึ่งรวมถึงการแปลงความเข้าใจในพฤติกรรมประสบการณ์และความรู้สึกของพวกเขาให้เป็นการตอบสนองที่ครูให้กับผู้เรียนได้เมื่อครูรู้แล้วว่าผู้เรียนต้องการสื่อถึงอะไร
การตอบแบบพื้นฐาน
ข้อความ
เธอรู้สึกว่า
............
แสดงให้เห็นเห็นถึงความรู้สึกของผู้เรียนในอารมณ์ที่แตกต่างกันไป
ข้อความ
เพราะว่า
...............
แสดงให้เห็นถึงประสบการณ์และพฤติกรรมของผู้เรียน
ตั้งใจฟังผู้เรียนตลอดเวลา
ผู้เรียนจะพยักหน้าเมื่อคำตอบของครูนั้นถูกต้อง
ถ้าครูไม่เข้าใจก็อย่าแสร้งว่าเข้าใจ ครูควรพูดว่า "ครูยังไม่เข้าใจที่เธอพูดน่ะ ช่วยอธิบายให้ครูฟังอีกที"
สิ่งที่ไม่ควรทำ
คือ การตอบที่แย่การใช้สำนวน ซ่้ำซาก จำเจ หรือการตีความสิ่งที่ผู้เรียนต้องการบอกเล่าอย่างไม่เหมาะสม
ศิลปะในการสืบสวนเรื่องราว
การใช้ข้อความ
เช่น กล่าวว่าครูเข้าใจว่าเธอกำลังโกรธมากครูพอจะทราบว่ามันเป็นเรื่องอะไรแต่บางทีอาจคิดผิดไปบางทีเธอน่าจะบอกให้ครูฟังได้นะ
การใช้ข้อความสั้นๆ
ใช้วลีสั้นๆที่ช่วยให้การคำปรึกษาดำเนินไปอย่างราบรื่น
การตั้งคำถาม
ใช้คำถามอย่ามากจนเกินไปเพราะผู้เรียนจะรู้สึกว่าตนกำลังถูกสอบสวน
ใช้คำถามที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และประโยชน์ต่อการให้คำปรึกษา
ไม่ถามในสิ่งที่ไม่จำเป็นต้องรู้และไม่เกี่ยวข้องกับปัญหา
2.ทักษะในการเป็นผู้ฟังที่ดี
ความหมายของการฟัง
การฟัง
คือความสามารถของผู้ให้คำปรึกษาในการจับใจความและทำความเข้าใจกับข้อความที่ผู้เรียนต้องการสื่อสารได้
องค์ประกอบของผู้ฟังที่ดี
1.สังเกตและทำความเข้าใจกับพฤติกรรมที่ไม่แสดงออกด้วยวาจาของผู้เรียน
พฤติกรรมที่ไม่แสดงออกด้วยวาจา
ท่าทาง
แสดงออกทางสีหน้้า
โทนเสียง
การตอบสนองทางร่างกายที่สังเกตได้
การหายใจเร็ว
การหน้าที่
ลักษณะทางกายภาพ
ส่วนสูง
น้ำหนัก
สีผิว
การฟังและทำความเข้าใจกับตัวผู้เรียนจะสังคมแวดล้อมของพวกเขา
การฟัง
หมายถึงการรับฟังผู้เรียนในบริบทของสังคมและล้อมของพวกเขาไม่ว่าจะเป็นครอบครัวห้องเรียนโรงเรียนหรือแม้กระทั่งเพื่อนบ้าน
สิ่งสำคัญคือการรับฟังผู้เรียนพูดและทำความเข้าใจว่าพวกเขา เป็นใคร มาจากไหน
2.ฟังและทำความเข้าใจกับข้อความที่ผู้เรียนต้องการสื่อ
สิ่งที่ผู้เรียนอธิบายเกี่ยวกับพฤติกรรม
ประสบการณ์
ความรู้สึก
4.การท้าทายความคิดเห็นที่บิดเบือน
ความรู้สึกของผู้เรียนเกี่ยวกับตนเอง ผู้อื่น และโลก ความรู้สึกเหล่านี้อาจบิดเบือนได้ ดังนั้นครูจะต้องค่อยๆ เรียนรู้ที่จะสังเกตุช่องว่างและการบิดเบือนนั้นในเวลาที่เหมาะสม
การช่วยเหลือผู้เรียนให้รู้จักท้าทายกันเอง
ความท้าทายคือการสำรวจความคิดและความประพฤติที่ไม่เป็นผลดีต่อตนเองหรือเป็นอันตรายต่อผู้อื่นพร้อมทั้งเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั้น
หากการทักทายประสบความสำเร็จผู้เรียนจะสามารถเติมเต็มข้อบกพร่องของตนเองได้ด้วยมุมมองใหม่ๆ และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ
การท้าทายให้ผู้เรียนรู้ว่าปัญหาของพวกเขานั้นสามารถแก้ไขได้ครูจึงต้องช่วยชี้ทางสว่างให้ผู้เรียนรู้สึกว่าปัญหาของเขาแก้ปัญหาได้
การท้าทายความแตกต่างและความบิดเบือน ผู้เรียนบางคนบิดเบือนความเป็นจริงไปในหลายรูปแบบด้วยกัน ดังนั้นครูในฐานะผู้ให้คำปรึกษาควรบอกให้ผู้เรียนปล่อยอดีตให้ผ่านไปและหันมาสนใจกับปัจจุบันและอนาคตแทน
หลักจริยศาสตร์ที่จำเป็นสำหรับครูได้แก่
นางสาวนูรอารีนา อาวัม 6220160357 3กลุ่มที่ เลขที่ 12