Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักศาสนาสำหรับครู - Coggle Diagram
การสร้างคุณธรรมจริยธรรม
ตามหลักศาสนาสำหรับครู
•2. ศาสนาเป็นบ่อเกิดของคุณธรรม
๕) การขาดนโยบาย แผนการด าเนินงานที่ชัดเจนของรัฐบาลที่จะส่งเสริมงานด้านศาสนา
๖) การขาดความเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ ความเข้าใจอันดีระหว่างศาสนา
๔) การไม่ประพฤติปฏิบัติตามหลักศาสนาที่ตนเคารพนับถือ
๗) การขาดจิตสำนึกด้านคุณธรรม จริยธรรม
๓) การขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องศาสนา ศีลธรรมเสื่อม
๘) การขาดความรู้ความเข้าใจในสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงไป
๒) การมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับศาสนา
๙) หลักสูตรการสอน
๑) การเหินห่างจากศาสนาของประชาชน เด็ก และเยาวชน
๑๐) ระบบ/รูปแบบ/วิธีการ/ข้อจำกัดของเวลาหรือหน่วยกิตที่น้อย
๑๑) ผลกระทบจากปัจจัยภายในและภายนอก
•1. ทศพิธราชธรรม คำสอนของพระราชา
ทาน (ทานํ) หมายถึงการให้ การเสียสละ นอกจากเสียสละทรัพย์สิ่งของแล้ว ยังหมายถึงการให้น้ำใจแก่ผู้อื่นด้วย
ศีล (ศีลํ) คือความประพฤติที่ดีงาม ทั้ง กาย วาจา และใจ ให้ปราศจากโทษ ทั้งในการปกครอง อันได้แก่ กฎหมายและนิติราชประเพณี และในทางศาสนา
บริจาค (ปริจาคํ) คือ การเสียสละความสุขส่วนตน เพื่อความสุขส่วนรวม
ความซื่อตรง (อาชชวํ) คือ ความซื่อตรงในฐานะที่เป็นผู้ปกครอง ดำรงอยู่ในสัตย์สุจริต
ความอ่อนโยน (มัททวํ) คือ การมีความอ่อนโยน มีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโสและอ่อนโยนต่อบุคคลที่ เสมอกันและต่ำกว่า
ความเพียร (ตปํ) คือ มีความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน โดยปราศจากความเกียจคร้าน
ความไม่โกรธ (อกฺโกธ) คือ ความไม่แสดงความโกรธให้ปรากฏเห็นเช่นทำร้ายผู้อื่นแม้จะลงโทษผู้ทำผิดก็ทำตามเหตุผล
ความไม่เบียดเบียน (อวิหิงสา) คือ การไม่เบียดเบียน หรือบีบคั้น ไม่ก่อทุกข์หรือเบียดเบียนผู้อื่น
ความอดทน (ขันติ) คือ การมีความอดทนต่อสิ่งทั้งปวง รักษาอาการ กาย วาจา ใจให้เรียบร้อย
ความเที่ยงธรรม (อวิโรธนํ) คือ ความหนักแน่น ถือความถูกต้อง เที่ยงธรรมเป็นหลัก ไม่เอนเอียงหวั่นไหวด้วยคำพูด อารมณ์ หรือลาภสักการะใดๆ
•3. คำสอนที่เป็นเสาหลักของ 5 ศาสนา ซึ่งประเทศไทยรับรอง
หลักปฏิบัติตามคำสอนศาสนาซิกข์
หลักธรรม 10 ประการศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
หลักธรรมที่สำคัญของศาสนาอิสลาม
คุณธรรมจริยธรรมของครูตามหลักศาสนาพุทธ 10 หลักธรรม
หลักคำสอนสำคัญของศาสนาคริสต์
•4. โรงเรียนวิถีพุทธ และโรงเรียนคุณธรรม
และโครงการอื่นที่เน้นการพัฒนาคุณธรรม
๑. พระภิกษุสงฆ์ มหาเถรสมาคม กรมการศาสนา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ มหาวิทยาลัยสงฆ์ และองค์กรภาคเอกชนหลายแห่ง
๒. ผู้รับผิดชอบโรงเรียนวิถีพุทธ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ๒๒๕ เขต
๓. ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน ตระหนักถึงความสำคัญ เริ่มปรับตัวนำหลักพุทธธรรมเข้าไปใช้ในการบริหารจัดการทั้งระบบโรงเรียน
๔. นักเรียนได้เรียนรู้ และเริ่มปรับตัว นำหลักพุทธธรรมไปปฏิบัติในวิถีชีวิต
๕. ผู้ปกครอง ชุมชน ชื่นชมยินดีให้การสนับสนุนงานของโรงเรียนมากขึ้นเกิดความสมานฉันท์ ของ บ้าน วัด โรงเรียน