Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนทัศน์การพัฒนาวิชาชีพครูเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษที่ 21…
กระบวนทัศน์การพัฒนาวิชาชีพครูเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนม.ต้น
ครูเป็นส่วนหนึ่งของระบบโรงเรียน หากพัฒนาครูจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงองค์กรโรงเรียน และพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะที่สอดคล้องกับสังคมในศตวรรศที่ 21 ดังนั้นครูจึงต้องปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็น ได้แก่ ทักษะการคิด การแก้ปัญหา การทำงานเป็นทีม และความรับผิดชอบต่องานในสังคมยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ เพื่อเตรียมนักเรียนให้เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิผล เป็นกำลังแรงงานและพลโลกที่สร้างสรรค์ในสังคมยุคศตวรรษที่ 21
วิธีดำเนินการวิจัย
วิธีดำเนินการวิจัย
ระยะที่ 1
ศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อเป็นสารสนเทศในการพัฒนากระบวนทัศน์การพัฒนาวิชาชีพครู
ระยะที่ 2
ออกแบบและพัฒนากระบวนทัศน์การพัฒนาวิชาชีพครู
ระยะที่ 3
ทดลองใช้
ระยะที่ 4
การปรับปรุงและประเมินความเหมาะสม
กลุ่มตัวอย่าง
ตำรา วารสาร บทความ เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาวิชาชีพ
ครูแนะแนว 37 คน
นักเรียน ม.ต้น รร.ขยายโอกาสทางการศึกษา เขต1 จำนวน 34 คน
นักเรียน ม.ต้น รร.ขยายโอกาสทางการศึกษา เขต2 จำนวน 55คน
เครื่องมือ
ตารางของKrejcie&Morgan
c
การทดสอบ t-test
การคำนวณค่าดัชนีจัดเรียงลำดับความต้องการโดยใช้สูตร PNI
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.ศึกษาเอกสาร หลักการ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.รวบรวมข้อมูลเพื่อกำหนดเป้าหมายและองค์ประกอบของกระบวนทัศน์การพัฒนาวิชาชีพครู เพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพ ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
สังเคราะห์และสรุปเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฏี งานวิจัย การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ และค่าดัชนีจัดเรียงลำดับความต้องการ จากแบบสอบถามครูและ นักเรียน
วิเคราะห์ประสิทิผลของกระบวนทัศน์การพัฒนาวิชาชีพครู โดยใช้ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t-test
วิเคราะห์ความคิดเห็นของครูต่อกระบวนทัศน์การพัฒนาวิชาชีพครู และ นักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมแนะแนวของครู โดยใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ
การนำผลวิจัยไปใช้
ควรสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ PLC ทั้งในครูและผู้เรียน
ควรวิเคราะห์และสังเคราะห์ หลักการ แนวคิด แนวโน้มของโลกปัจจุบัน และอนาคต โดยนักเรียนมีส่วนร่วมด้วย ทั้งนี้ต้องครอบคลุมทักษการพัฒนาชีวิตตนและสังคม และทักษะต่างๆ
ควรกำหนดเป้าหมายและวิธีการประเมินผลการจัดกิจกรรมแนะแนว
การวิจัยครั้งต่อไป
ควรมีการศึกษาวิจัยสร้างเกณฑ์การประเมินทักษะชีวิต
ควรมีกากรวิจัยเกี่ยวกับการประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตาม SOLO Taxonomy
ควรมีการวิจัยเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ
ผลการวิจัย
4.ครูเห็นด้วยในระดับมากที่สุดด้านกิจกรรมช่วยให้มีการปรับเปลี่ยนความคิดและการเรียนรู้การพัฒนาวิชาชีพครู
ผลการประเมินระดับการเรียนรู้ของครูเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้กิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษที่ 21 ขอกนร.ม.ต้น อยู่ในระดับดี-ดีมาก
2.ครูมีทักษะการจัดกิจกรรมแนะแนวอยู่ในระดับดี ทั้งด้านการออกแบบจัดกการเรียนรู้ การคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล การจัดการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น การส่งเสริมการรรุ้จักทำงานเป็นทีม การนำความรู้ใหม่ไปใช้อย่างสร้างสรรค์
ความรู้ของครูที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ทั้งก่อนและหลังการใช้กพ21. มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 โดยมีค่าสูงกว่าก่อนการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติตามกระบวนทัศน์การพัฒนาวิชาชีพครู
5.นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ของตนเองกับข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพในศตวรรษที่ 21
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เป็นแนวทางการพัฒนาบทบาทของครูในฐานะผู้เรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพเพื่อให้เกิดความรู้ใหม่ในการพัฒนาวิชาชีพครู และเกิดการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานที่ส่งผลทางบวกต่อทักษะชีวิต และอาชีพในศตวรรษที่ 21 ของครูและนักเรียนต่อไป
วัตถุประสงค์
1.พัฒนากระบวนทัศน์การพัฒนาวิชาชีพครูเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษที่21ของนักเรียนม.ต้น
2.เพื่อศึกษาประสิทธิผลของกระบวนทัศน์การพัฒนาวิชาชีพครูเพื่อเสริมทักษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษที่21ของนักเรียนม.ต้น
3.เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อกระบวนทัศน์การพัฒนาวิชาชีพครูเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษที่21 ของนักเรียนม.ต้น
4.เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมแนะแนวของครูที่ได้รับความรู้และการฝึกปฎิบัติตามกระบวนทัศน์การพัฒนาวิชาชีพครู
บทเรียนที่ได้รับ
ได้ความรู้เรื่องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแนวคิดชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบการเรียนรู้ที่เป็นสากล
รู้จักการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ได้นำความรู้/แนวคิด/กระบวนการ จากบทความวิชาการ ไปปรับใช้ในการสอน
บทนำ