Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8 พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย, นางสาวพัชชาพิมนต์ จองคำ…
บทที่8
พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
1)การเปลี่ยนแปลงทาสังคมและวัฒนธรรม
1.1)แนวคิดกับการเปลี่ยนแปลง
นิสเบท (Nisbet, 1969 : 166-168) อธิบายไว้ดังนี้
การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องของกฎธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงเป็นอยู่ตลอดเวลา
การเปลี่ยนแปลงเป็นการต่อเนื่อง
การเปลี่ยนแปลงเป็นแบบเดียวกัน
การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งจำเป็น
อัลวิน ทอฟเลอร์ (AlvinToffler) ซึ่งมีการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของอารยธรรมโลกเหมือนกับ คลื่นลูกที่สาม (The Third Wave) ดังนี้
คลื่นลูกที่ 1 สังคมเกษตรกรรม
คลื่นลูกที่ 2 สังคมอุตสาหกรรม
คลื่นลูกที่ 3 สังคมแห่งเทคโนโลยี
1.2)ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางชีววิทยา (Biological)
ปัจจัยทางประชากร (Population)
ปัจจัยทางกายภาพ (Physical)
ปัจจัยทางวัฒนธรรม (Cultural)
ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี (Technological)
ปัจจัยด้านขบวนการสังคม (Social Movement)
ปัจจัยทางจิตวิทยา (Psychological)
ปัจจัยอื่น ๆ (Other)
1.3)ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาค่าใช้จ่ายที่ต้องมีในการสร้างความเปลี่ยนแปลง
ปัญหาอันเป็นผลต่อเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาความไม่สมดุลของการเปลี่ยนแปลง
2)การเปลี่ยนแปลงทางภาษา
2.1)ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกันในช่วงเวลาที่ต่างกัน
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกันในช่วงเวลาเดียวกัน
2.2)ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษา
ปัจจัยภายในที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงภายในตัวภาษานั้นขึ้นกับคุณสมบัติของภาษา 2 ประการ
1.1 ความสมมาตร (Symmetry)
1.2 ความประหยัด
ปัจจัยภายนอกที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษาปัจจัยภายนอกที่สาคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภาษา มีดังนี้
2.1 ระบบการสื่อสารและเทคโนโลยีการพิมพ์
2.2 อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
2.3 การปฏิรูปการศึกษา
2.3)ภาษาไทยยุคใหม่กับโลกสมัยที่เปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงในภาษาไทยสมัยใหม่ภาษาเปลี่ยนแปลงในลักษณะของการออกเสียง คำศัพท์ รูปแบบ และลักษณะอื่นอื่นตามกาลเวลาที่เปลี่ยนไป
สาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในภาษาไทยสมัยใหม่การเปลี่ยนแปลงภาษามีสาเหตุมาจากการตอบสนองความต้องการของมนุษย์เพื่อให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
ตัวอย่างภาษาที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมภาษาวิบัติ หรือ ภาษาอุบัติ
2.4)ผลกระทบจากการใช้ภาษาวิบัติ
2.5)ความอยู่รอดของภาษาไทยในยุคดิจิตอล
2.6)ภาษาไทยในยุค 4.0
3)พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมมีปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น 2 ประการ คือ
1.ปัจจัยภายใน ได้แก่ ปัจจัยทางธรรมชาติ ปัจจัยทางสังคม ปัจจัยทางวัฒนธรรม ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางการเมือง
2.ปัจจัยภายนอก ได้แก่ การติดต่อระหว่างสังคมที่หลากหลายและการกระทบกระทั่งระหว่างสังคม
วิธภาษาบางประเภทของไทย อาจธำรงอยู่ได้โดยปราศจากการเปลี่ยนแปลง เช่น วิธภาษาที่เป็นวัจนลีลาตายตัว เช่น ราชาศัพท์ ภาษามาตรฐาน ภาษากฎหมาย
นางสาวพัชชาพิมนต์ จองคำ 6002055
เซค17 วิทยาลัยการศึกษาสาขาภาษาอังกฤษ