Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
IMMUNE SYSTEM DRUGS ยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน, นางสาวสิรินทิพย์ …
IMMUNE SYSTEM DRUGS
ยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน
การกระตุ้นผ่าน Tlymphocyres 2 สัญญาณ
T-cell receptor (TCR)-MHC (majorbhistocompability complex)
เกิดการจับระหว่าง CD80/86บนAPCกับ CD28 บนผิว T-cell
Immunization
Passive immunization
ผลของภูมิคุ้มกันเกิดขึ้นทันที แต่ภูมิคุ้มกันคงอยู่ระยะสั้น
ร่างกายไม่ต้องสร้างเอง
สร้างภูมิคุ้มกันโดยให้ Abs ที่ผลิตขึ้นแล้วนอกร่างกาย (คนหรือสัตว์) ฉีดเข้าร่างกายโดยตรง
Active immunization
เกิดจากการติดเชื้อ วัคซีนกระตุ้นให้ร่างกายสร้าง antibodies
อยู่ได้นาน และภูมิคุ้มกันเกิดขึ้นอย่างช้าๆ ต้องใช้เวลาเพื่อให้ร่างกายสร้างภูมิคุมกัน
Toxiod
เก็บสารพิษมาทำให้หมดฤทธิ์ ฉีดเข้าสู่คน ให้ร่างกายสร้าง antibodies
Diphtheria (คอตีบ) , Tetanus (บาดทะยัก) , Botulism (clostridium)
Live attenuated vaccine
Tuberculosis (BCG) , Oral polio vaccine (OPV) , Measles (หัด)
ระวังการใช้ในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำกว่าปกติ หรือผู้ที่รับยากดภูมิคุ้มกัน
จุลินทรีย์ที่มีชีวิต (ไวรัสแบคทีเรีย) ที่อ่อนแอลงภายใต้สภาพห้องปฏิบัติการ
เมื่อได้รับวัคซีนแล้วจะต้องใช้เวลา จึงจะเริ่มเกิดปฎิกิริยา
ร่างกายสร้างขึ้นเอง
Inactivated vaccine (Killed vaccine)
อนุภาคของไวรัส/แบคทีเรียที่เติบโตในธรรมชาติ ฆ่าด้วยวิธีการเช่น heat or formaldehyde
ไม่สามารถทำให้เกิดโรคได้
Polio vaccine (Salk vaccine) , influenza vaccine , typhoid vaccine , pertussis vaccine , อหิวาตกโรค , ไข้สมองอักเสบ , พิษสุนัขบ้า , Hepatitis virus A vaccine
Hepatitis virus B vaccine , influenza vaccine
The immune system
Nature immunity
ไม่มีความจำเพาะต่อเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อจุลินทรีย์
Acquire immunity
จำเพาะต่อ antibody ที่มากระตุ้น
Lymphocytes
B cell
สร้าง Antibody
T cell
Helper T cells
กระตุ้น Phagocytes
กระตุ้น T cells
เมื่อมีเชื้อเข้ามา จะกระตุ้น B cells ให้ผลิต antibodies
Cytotoxic T lymphocytes (CTLs)
กำจัดเชื้อออกทางร่างกาย
พา macrophage ที่ติดเชื้อไปทำลายทิ้ง
ได้รับการกระตุ้นจะปล่อยสารออกมา (cytokines) จะกระตุ้นสร้างเม็ดเลือดขาว T cell และ B cell เพิ่มขึ้น
สร้างที่ Bone marrow
Immunomodulator
Immunostimulants
Interferons
Interferon beta
Multiple sclerosis
Interferon gamma
จำพวกโรคเรื้อรัง
Interferon alpha
Viral infections(Choronic hepatitis , Human papillomavirus)
มะเร็งที่ศีรษะ มะเร็งที่ผิวหนัง
interleukins
เป็นIL-2 ที่สังเคราะห็ขึ้น กระตุ้นการเจริญของ T-cell
ADR
Hypotention (ความดันต่ำ)
Infection (การติดเชื้อ)
Colony stimulating factors
Filgrastim
ADR
Bonn or muscle pain
Headache
กระตุ้นเม็ดเลือดขาวในคนปลูกถ่ายไขกระดูก
Sargramostim
กระตุ้นเม็ดเลือดขาวในคนปลูกถ่ายไขกระดูก
ADR
ปวดกระดูก ข้อ กล้ามเนื้อ ท้องเสีย ผมร่วง
Immunosuppressants
5. Alkylating agents
Cyclophophamide
ข้อบ่งใช้
RA
ใช้ในผู้ป่วยโรค SLE โลหิตจาง
side effects
Hemorrhagic cystitis (ปัสสาวะเป็นเลือด)
Alopecia (ผมร่วง)
Pancytopenia (ลดการสร้างเม็ดเลือดขาวทุกชนิด)
Prodrugs ถูก metabolite ที่ตับโดย CYP450
6. Corticosteroids
ยับยั้งการแบ่ง cell ของ cell เม็ดเลือดขาว
ลดขนาดของต่อมน้ำเหลือง (lymph node spleen)
ลดการสร้างเม็ดเลือดขาวที่ไขกระดูก
Use
ป้องกันการต่อต้านการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ
ลดการอักเลบของโรค COPD
Rheumatoid Arthritis
ลดการอักเสบและกดภูมิคุ้มกัน
Prednisone
Prednisolone
Prednisone
Dexamethasone
ข้อควรระวัง
บดบังการติดเชื้อ
หลีกเลี่ยงการสัมผัสคนที่มีเชื้อ
Adverse Effects
Diabetes mellitus
GI perforation
Osteoporosis
Peptic ulcer
Psychosis
Weight gain
Muscle weakness
Delayed wound healing
Hypertension
4. Pyrimidine synthesis inhibitor
Lefiunomide
ใช้ในผู้ป่วย RA , ยับยั้งไม่ให้กระดูกเปลี่ยน เสียรูป
Adverse Effects
Elevated liver enzymes (ALT and AST)
Diarrhea
ยับยั้งการสังเคราะห์ DNA และ RNA
7. Antibody
7.1 MuromonabCB-3
Adverse Effects
chills , fever , thrombocytopenia
3. Purine synthesis inhibitor
3.1 Mycophenalate mofetil
ADverse Effects : GI symptoms (diarrhea)
3.2 Azathioprine
DI
: Allopurinol --> Azathioprine (Azathioprine เมตาบอลิซึมโดยเอนไซม์ Xanthine oxidase)
Adverse Effects
N/V
Leukopenia Infection
ใช้ในผู้ที่เปลี่ยนถ่ายไต
ข้อควรระวัง
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ที่เพิ่งได้รับวัคซีนโปลิโออทางปากหรือวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่สูดดมทางจมูก
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ที่มีอาการเจ็บป่วยที่อาจแพร่กระจายไปยังผู้อื่น
8. Anti-IL-2 receptor mAbs
8.1 Basiliximab
T-cell ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นโดย IL-2
2. mTOR inhibitor
Sirolimus (rapmicin)
Use
ใช่ร่วมกับ Cycosporinesหรือtacolimus และ Gluccocortocoids ในผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต
Adverse effects
Hypertrigryceridemia
Hypercholesteralemia
Thormbocytopenia
Metabolism
CYP 450
DI : Ketoconazol , Itraconazole , rifampicin , phynytoin
Oral
1. Calcineurine inhibitor
1.1 Cyclosporine
ข้อแนะนำ
เหงือกหนามากกว่าปกติ ให้ใช้ขนแปรงอ่อน ใช้ไหมขัดฟัน
หลีกเลี่ยงการกินร่วมกับ grapefruit
Adverse effect
พิษต่อระบบไต
Neurotoxicity (tremor)
เหงือกหนามากกว่าปกติ
ขนขึ้นตามคาง
ข้อบ่งใช้
ปลูกถ่ายไขกระดูก
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid Arthritis)
ป้องกันคนไข้ที่ปลูกถ่ายไขกระดูก
โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
1.2 Tacrolimus
ADR
Nephrotoxicity (พิษต่อระบบไต)
Neurotoxicity (Tremor)
Use
ป้องกันในผู้ที่ปลูกถ่ายอวัยวะ
เป็นยาใหม่ ออกฤทธิ์แรงกว่า cyclosporine 100 เท่า
นางสาวสิรินทิพย์ สืบด้วง รหัสนักศึกษา 621401078 เลขที่ 75