Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประกันสุขภาพและการประกันสังคม, นางสาวพิชชาพร ปรวกพรมมา 60051563 -…
การประกันสุขภาพและการประกันสังคม
โครงการบัตรประกันสุขภาพ
ระยะที่ 1 โครงการนำร่อง พ.ศ.2526
ระยะที่ 2 โครงการบัตรประกันสุขภาพ พ.ศ.2527
ระยะที่ 3 เริ่มมีความถดถอยของโครงการมีความไม่ชัดเจนของนโยบาย พ.ศ.2530-2534
ระยะที่ 4 การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ กองทุนหมุนเวียนระดับประเทศ พ.ศ.2536-2544
กองทุนเงินทดแทน
กองทุนเงินทดแทน คือ กองทุนที่จ่ายเงินทดแทนให้แก่ลูกจ้างแทนนายจ้าง
เมื่อลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือถึงแก่ความตายหรือสูญหาย
เนื่องจากการทำงานให้แก่นายจ้าง โดยไม่คำนึงถึงวัน เวลา และสถานที่
แต่จะดูสาเหตุที่ทำให้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
เงินสมทบ คือ เงินที่นายจ้างจ่ายเข้ากองทุนเงินทดแทนแต่เพียงฝ่ายเดียว จะเรียกเก็บจากนายจ้างเป็นรายปี
โดยประเมินจำนวนเงินที่นายจ้างจ่ายให้ลูกน้องทั้งปีรวมกัน (คนละไม่เงิน 240,000 บาท/ปี)
คูณกับอัตราเงินสบทบ หลักของประเภทกิจการ ระหว่างอัตรา 0.2-1.0%
การประกันสุขภาพ
ในประเทศต่างๆ
การประกันสุขภาพภายใต้การ ประกันสังคม (Social health insurance)
ระบบบริการสุขภาพ (National health service)
การประกันสุขภาพถ้วนหน้า (National health insurance)
ระบบผสมผสาน (Mixed system)
ข้อแตกต่างของ
ประกันสุขภาพกลุ่มต่างๆ
ประชากรกลุ่มเป้าหมายและความครอบคลุม
สิทธิประโยชน์และบริการที่ไม่ครอบคลม
แหล่งที่มาของเงิน
สรุปปัญหาของการสร้างหลักประกันสุขภาพ
ในปัจจุบันของประเทศไทย
การขาดหลักประกันทางด้านสุขภาพของประชาชนบางกลุ่ม
การที่ผู้ด้อยโอกาสไม่ได้รับหลักประกันอย่างแท้จริง
ความไม่เท่าเทียมกันในหลักประกันของกลุ่มต่าง ๆ
คุณภาพในการให้บริการและความพึงพอใจจากผู้รับบริการ
การขาดประสิทธิภาพในการบริหารงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการบางโครงการ
ความไม่เป็นเอกภาพในการดำเนินการ (คนเดียวมีหลายสิทธิ)
โครงการประกันสังคม
กองทุนที่ให้หลักประกันแก่ผู้ที่อยู่ในระบบ ประกันสังคมให้ได้รับประโยชน์ทดแทน
เมื่อประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือตาย ซึ่งไม่เกิดจากการทำงาน
รวมทั้งกรณีคลอดบุตร สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน
หลักของการประกัน
ปรัชญาของการประกัน คือ การเฉลี่ยความเสี่ยง ระหว่างบุคคลต่างๆ
ในชุมชนเดียวกัน เป็นการสร้างความแน่นอน
ความเสี่ยงหรือความไม่แน่นอน (uncertainly)
จะเกิดโรค/การบาดเจ็บหรือไม่
เจ็บป่วยแล้วจะมีอาการหนักหรือไม่
จะสิ้นเปลืองค่ารักษาสูงหรือไม่
การเฉลี่ยความเสี่ยง (Risk sharing / Risk pooling)
เป็นการการเปลี่ยนความไม่แน่นอนให้เป็นความแน่นอน
และค่าใช้จ่ายโดยรวมเท่าไร
จะมีการใช้บริการโดยรวมเท่าไร
ระบบประกันสุขภาพ
ในประเทศไทย
สวัสดิการรักษาพยาบาลที่รัฐจัดให้ (Social Welfare)
การประกันสุขภาพเชิงบังคับ (Compulsory Health Insurance)
การประกันสุขภาพโดยความสมัครใจ (Voluntary Health Insurance)
องค์ประกอบของ
ระบบประกันสุขภาพ
Insured ประชาชน/ผู้ป่วย
Provider ผู้ให้บริการ
Insurance party องค์กรประกัน
Government or professional body รัฐ/องค์กรวิชาชีพที่ดูแล
การคิดเบี้ยประกัน
คิดอัตราเฉลี่ยความเสี่ยงรายบุคคล
คิดอัตราเฉลี่ยความเสี่ยงรายกลุ่ม
แนวทางการแก้ไข
ปัญหาเชิงทฤษฎี
ประกันภาคสมัครใจมีปัญหามากกว่าภาคบังคับ
แก้ปัญหาละเมิดจริยธรรมฝ่ายอุปสงค์
แก้ปัญหาละเมิดจริยธรรมฝ่ายอุปทาน / บริษัทประกัน
ควบคุมอัตราการคิดเบี้ยประกัน
กลไกการจ่ายเงิน
แก่ผู้ให้บริการ
คุ้มครองคเสียหายทั้งหมดที่เกิดขึ้น หรือจ่ายเป็นสัดส่วนของค่าเสียหายทั้งหมด
จ่ายค่าเสียหายไม่เกินเพดานที่กำหนด (pay first x dollar)
จ่ายค่าเสียหาเมื่อเกินเพดานที่กำหนด (pay last x dollar)
Health insurance
การประกันสุขภาพ
เป็นการเฉลี่ยความเสี่ยงระหว่างผู้ที่มีความเสี่ยงสูงกับความเสี่ยงต่ำ เมื่อถ่ายเทความเสี่ยงกันแล้ว
ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงจะใช้บริกรมากกว่าผู้ที่มีความเสี่ยงน้อย
การเฉลี่ยความเสียงของค่าใช้จ่ายราคาสูง ให้ทุกคนสามารถเข้าถึงบริการได้โดยการจ่ายเป็นไปตามความสามารถในการจ่าย
ผู้ที่มีรายได้สูงจ่ายมาก และผู้มีรายได้น้อยจ่ายน้อยกว่า นำเงินมารวมกัน แล้วจ่ายออกไปตามความจำเป็นในการใช้บริการของแต่ละคน
วิธีการ/ รูปแบบ
การชดเชยความเสี่ยง
การออมไว้ยามเจ็บป่วย
การจุนเจือผู้ป่วยจากครอบครัวและญาติมิตร
การบริจาคให้กับผู้ป่วย
การประกันสุขภาพ เป็นวิธีการแลกเปลี่ยนความเสี่ยงระหว่างบุคคล
โดยมีกองทุน/ บริษัทประกันสุขภาพเป็นผู้จัดการความเสี่ยง
นางสาวพิชชาพร ปรวกพรมมา 60051563