Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมผู้บริโภคบริการสุขภาพ 1, นางสาวพิชชาพร ปรวกพรมมา 60051563 - Coggle…
พฤติกรรมผู้บริโภคบริการสุขภาพ 1
แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม
พฤติกรรมสุขภาพ
แสดงออกของบุคคลทั้งภายใน ภายนอก ที่สังเกตได้และสังเกตไม่ได้
ในการกระทำหรืองดเว้นการกระทำสิ่งที่มีผลต่อสุขภาพตนเอง ครอบครัว หรือชุมชน
ปัจจัยที่มีผลกับ
พฤติกรรมสุขภาพ
บุคลิกลักษณะ (Personality)
สัญชาตญาณ (Instincts)
ความต้องการ (Needs)
องค์ประกอบของ
พฤติกรรมสุขภาพ
ความรู้ (K = Knowledge)
ความเชื่อ (B = Belief)
ค่านิยม (V = Value)
ความคิดเห็น (O = Opinion)
การรับรู้ (P = Perception)
ทัศนคติหรือเจตคติ (A =Attitude)
ประเภทของ
พฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมการป้องกันโรค
พฤติกรรมเมื่อเจ็บป่วย
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมของบุคคลในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการ
สิทธิของผู้บริโภค
สิทธิที่จะได้รับทราบความเป็นจริงและความเป็นธรรม ไม่ถูกเอาเปรียบ หลอกลวงจากการโฆษณา
สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากสินค้า
สิทธิที่จะไม่ถูกบังคับให้บริโภคเนื่องจากการผูกขาด
สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาโดยเร็วเมื่อไม่ได้รับความเป็นธรรม
พฤติกรรม
ความหมายของพฤติกรรม
กันยา สุวรรณแสง (2536)
อาการ บทบาท ลีลา ท่าทีความพฤติกรรม การกระทำที่แสดงออกให้ปรากฏสัมผัสได้
ด้วยประสาทสัมผัสหรือวัดด้วยเครื่องมือ พฤติกรรมที่ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า คือ ตา ปากจมูก หู และผิวกาย
CHAPMAN AND CHAPMAN (1975)
อะไรก็ตามที่สิ่งมีชีวิตกระทำ
เอื้อมพร ทองกระจาย (2540)
เป็นกิจกรรมทุกอย่างที่มนุษย์กระทำเป็นลักษณะการแสดงออกที่สังเกตเห็นได้
สมจิตต์ สุพรรณทัสน์ (2524)
กิจกรรมต่าง ๆ ของอินทรีย์ที่แสดงออกมาโดยสามารถสังเกตได้ด้วยบุคคลอื่น ๆ
Twaddle (1981)
ปฏิกิริยาหรือกิจกรรมทุกอย่างของสิ่งมีชีวิต
Gochman (1988)
สิ่งที่บุคคลสมัครใจจะกระทำหรือละเว้นการกระทำ
องค์ประกอบของพฤติกรรม
ทางกาย (Physical)
ทางสติปัญญา (Intelligence)
ทางอารมณ์(Emotional)
ทางสังคม (Social)
พฤติกรรมทางบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพภายนอก เป็นสิ่งที่สังเกตได้
ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ หูตาลิ้น จมูก และกาย
บุคลิกภาพภายใน เป็นสิ่งที่บุคคลสั่งสมมานานจากการอบรมเลี้ยงดูและการศึกษา
จากโรงเรียน เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นสัมผัสได้ยาก บุคลิกภาพที่ดีสามารถเสริมสร้างและพัฒนาได้
พื้นฐานความคิดพฤติกรรมมนุษย์
คนมีความแตกต่างกัน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา และสังคม
พฤติกรรมทุกพฤติกรรมต้องมีสาเหตุ สาเหตุที่ทำให้บุคคลมีพฤติกรรม
พฤติกรรมทุกพฤติกรรมต้องมีแรงจูงใจ (MOTIVE) หมายความว่า อยู่เฉยๆ บุคคลจะไม่แสดงพฤติกรรมออกมา
สาเหตุที่ต่างกันอาจนนำไปสู่พฤติกรรมเดียวที่เหมือนกันได้
สาเหตุเดียวกันอาจทำให้เกิดการตอบสนองพฤติกรรมที่ต่างกัน
คนและสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
คนในสิ่งแวดล้อมเดียวกันมักมีแบบแผนในการปฏิบัติหรือแสดงออกที่คล้ายกัน
การแบ่งพฤติกรรม
พฤติกรรมปกติ
พฤติกรรมอปกติหรือพฤติกรรมเบี่ยงเบน
ประเภทของพฤติกรรม
พฤติกรรมด้านเจตพิสัย (Affective Domain)
พฤติกรรมด้านพุทธพิสัย (Cognitive Domain)
พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
จิตวิทยาเกี่ยวกับพฤติกรรม
การบริโภคสินค้าสุขภาพ
เมื่อเจ็บป่วยบุคคลจะปฏิบัติตัวแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับ
ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของโรค
อาการและการรักษาโรค
การรับรู้เกี่ยวกับความรุนแรงของโรค
ความเชื่อเดิม
ขนบธรรมเนียมประเพณี
ความสนใจ
ค่านิยม
สถานบริการที่มีในชุมชน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
พฤติกรรมผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ปัจจัยภายนอกตัวบุคคล
ทางกายภาพ
ปัจจัยทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
ทางด้านเศรษฐกิจและการศึกษา
ทางด้านการเมือง
ทางด้านเทคโนโลยี
ปัจจัยภายในตัวบุคคล
ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
พฤติกรรมการบริโภคตามความพอใจ
พฤติกรรมการบริโภคด้วยเหตุผลและความจำเป็น
นางสาวพิชชาพร ปรวกพรมมา 60051563