Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 ภาษาและวัฒนธรรมไทย สำหรับความเป็นครู, 60206464 น.ส.กัญญาลักษณ์…
บทที่ 5
ภาษาและวัฒนธรรมไทย
สำหรับความเป็นครู
1. ความสำคัญภาษาและ
วัฒนธรรมไทยสำหรับความเป็นครู
ความสำคัญของภาษา
ภาษาช่วยธำรงสังคม
ภาษาแสดงความเป็นปัจเจกบุคคล
3.ภาษาช่วยให้มนุษย์พัฒนา
4.ภาษาช่วยกำหนดอนาคต
ภาษาช่วยจรรโลงใจ
ความสำคัญของวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมเป็นเครื่องสร้างระเบียบแก่สังคมมนุษย์
วัฒนธรรมทำให้เกิดความสามัคคีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
วัฒนธรรมเป็นตัวกำหนดรูปแบบของสถาบัน
วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือช่วยแก้ปัญหา
และสนองความต้องการของมนุษย์
วัฒนธรรมช่วยให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้า
วัฒนธรรมเป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติ
2. คุณลักษณะ
ความเป็นครู
บทบาทหน้าที่และ
ความรับผิดชอบของครู
คือ การสอน และการสอนนั้นเป็นกระบวนการที่ผสมกันระหว่าง ศาสตร์ กับ ศิลป์
การเป็นครู มิใช่มีแต่ความรู้ในหลักวิชาการเท่านั้น ยังต้องอาศัยแรงจูงใจในหลายด้านประกอบกัน
บทบาท หมายถึง การแสดงออกของคนซึ่งคนอื่นคาดคิด หรือหวังว่าเขาจะกระทําเมื่ออยู่ภายใต้สถานการณ์ทางสังคมอย่างหนึ่ง
หน้าที่ หมายถึง งานการปฏิบัติ การบริหาร หรือธุรกิจที่ต้องกระทำตามคำสั่งให้เกิดผลด้วยความดี
ความรับผิดชอบ หมายถึง การปฏิบัติงานและหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายให้ดีที่สุดที่จะสามารถทำได้
บทบาทของครูตาม
TEACHERS MODEL
S – Service (การบริการ) หมายถึง การให้บริการแก่ศิษย์ ผู้ปกครองและชุมชน
R – Research (การวิจัย) หมายถึง การที่ครูต้องเป็นนักแก้ปัญหา เพราะการวิจัยเป็นวิธีการแก้ปัญหา
และการศึกษาหาความรู้ความจริงที่เชื่อถือได้โดยใช้วิธีการที่เชื่อถือได้
E – Evaluation (การประเมินผล) หมายถึง การประเมินผลการเรียนการสอน ของนักเรียน หน้าที่และความรับผิดชอบ
H – Human Relationship (มนุษยสัมพันธ์) หมายถึง ครูอาจารย์ต้องทําตัวให้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อบุคคลทั่วๆ ไป
C – Cultural Heritage (การสืบทอดวัฒนธรรม) หมายถึง ครู อาจารย์ต้องทําหน้าที่และรับผิดชอบ
ในการสืบทอดวัฒนธรรมจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง
A – Academic (วิชาการ) หมายถึง การที่ครูต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบในทางวิชาการ
E – Ethics (จริยธรรม) หมายถึง การที่ครูมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการส่งเสริมจริยธรรมให้แก่นักเรียน
T – Teaching (การสอน) หมายถึง บทบาทในการทําหน้าที่สั่งสอนศิษย์ให้เป็น คนดีมีความรู้ในวิชาการทั้งปวง
คุณลักษณะที่ดีของครู
ลักษณะครูที่ดีตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา
ลักษณะครูที่ดีตามพระราชดำรัส
ลักษณะครูที่ดีตามทัศนะของบุคคลทั่วไป
ลักษณะครูที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
ลักษณะครูที่ดีตามเกณฑ์ประเมินสรรหาครูดีเด่นของคุรุสภา
ลักษณะครูที่ดีจากผลการวิจัย
3. บทบาทของครูในฐานะผู้ถ่ายทอด
ภาษาและวัฒนธรรม
วัฒนธรรมไทยกับการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรม เป็นสิ่งที่แสดงถึงระเบียบแบบแผนในการดำรงชีวิตของคนในสังคม
ที่มีการสืบทอดต่อกันมาเป็นเวลานานจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต
วัฒนธรรมรอง
วัฒนธรรมหลัก
วัฒนธรรมสากล
มุมมองต่อวัฒนธรรม
ในยุคปัจจุบัน
วัฒนธรรมเฉพาะกลุ่มและมีความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะเมื่อ
มีการเปิดวิถีชีวิตของคนในยุคโลกาภิวัตน์ไปสู่วัฒนธรรมของสังคมอื่นๆ
วัฒนธรรมนั้นเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่งเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา เกิดจากการแบ่งปันกันระหว่างคนในสังคม
รวมไปถึงการสื่อสาร อีกทั้งยังสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมได้
วัฒนธรรมมีความสำคัญต่อสังคมมนุษย์ เนื่องจากวัฒนธรรมต่างๆ ทำให้มนุษย์สามารถปรับตัว
ให้รอดชีวิตจากภัยธรรมชาติ สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมและสืบต่อเผ่าพันธุ์ได้
วัฒนธรรมเกิดขึ้นได้เนื่องจากมนุษย์มีความสามารถในการเรียนรู้ และถ่ายทอดมรดกองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่นได้
ซึ่งแต่ละวัฒนธรรมก็จะถูกสร้างสรรค์ขึ้นอย่างเหมาะสมกับสภาพสังคมนั้นๆ
วัฒนธรรมไทย
ประจำภูมิภาค
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง ส่วนใหญ่เป็นวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา
เช่นเดียวกับวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ แต่ลักษณะที่แตกต่างกันออกไปบ้าง
เนื่องจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สังคม และค่านิยมในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชนพื้นเมืองถิ่นอีสานดำรงชีวิตอย่างเรียบง่าย
มีโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์บนพื้นฐานประวัติศาสตร์อันยาวนาน วัฒนธรรมต่างๆ ของภาคอีสาน
เป็นการนำแนวความคิด ความศรัทธา และความเชื่อที่ได้สั่งสมลืบทอดเป็นมรดกต่อกันมา
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ เป็นวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยเฉพาะวัฒนธรรมของชาวล้านนา
ที่ยังคงยึดมั่นในขบธรรมเนียมประเพณีของพระพุทธศาสนา ที่แสดงออกถึงมิตรไมตรีและความเอื้อเฟิ้อเผื่อแผ่ต่อกัน
มีการสืบทอดมาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้ ภาคใต้มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาอันยาวนานเป็นแหล่ง
รับอารยธรรมพระพุทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาอิสลาม ซึ่งได้หล่อหลอมเข้ากับ
ความเชื่อดั้งเดิม ก่อให้เกิดการบูรณาการเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้
4. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมเป็นฐาน
ศิลปะการถ่ายทอด
ของครูมืออาชีพ
การปฏิรูปการศึกษาปรับเปลี่ยนโฉมหน้าใหม่ไปสู่การอบรมให้ผู้เรียนเกิดความรู้คู่คุณธรรมและ
จัดการศึกษาให้มีคุณภาพสูง เพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นคนดี เป็นคนเก่งและมีความสุขในชีวิต
เทคนิคในการ
ถ่ายทอดของครู
เทคนิคการสอนบรรยาย
เทคนิคการทำให้ผู้เรียนเข้าใจและจำง่าย
เทคนิคการสร้างอารมณ์ขัน การถ่ายทอดทำให้สนุกสนาน
เทคนิคการสร้างอารมณ์ขัน
มองโลกในแง่ดี
มีความแหลมคม จดจำและบันทึก คำพูดหรือประโยคที่ใช้คำแหลมคมทั้งหลาย
สะสมจัดจำประโยค คำพูดที่ดี และสร้างสรรค์
นำมาดัดแปลงแต่งเล็กน้อยเอาไว้ใช้ในการสนทนาปราศรัยกับบุคคลต่างๆ
แสดงถูกกาลเทศะ คือ พูดให้เหมาะสม กับเวลา บุคคล โอกาสและสถานที่
60206464 น.ส.กัญญาลักษณ์ สีตื้อ วิทยาลัยการศึกษา สาขาคณิตศาสตร์