Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมเป็นฐาน ตามแนวทางโรงเรียนพ…
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมเป็นฐาน
ตามแนวทางโรงเรียนพหุวัฒนธรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3)
เป็นระดับการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้สำรวจความถนัด และความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะในการดำรงชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6)
เป็นระดับการศึกษาที่มุ่งเน้น การเพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้าน สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียนแต่ละคน ทั้งด้านวิชาการ และวิชาชีพ มีทักษะ มีทักษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง
ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6)
เป็นระดับการศึกษาที่มุ่งเน้นทักษะ พื้นฐานด้านการอ่านการเขียน การคิดคำนวณ การคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็นมนุษย์
การจัดการศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรม
ความหมายของการศึกษาพหุวัฒนธรรม
แนวความคิดทางปรัชญาและกระบวนการทางการศึกษา โดยการศึกษาพหุวัฒนธรรมมีรากฐานมาจากปรัชญาในอุดมคติเกี่ยวกับเสรีภาพ ความเสมอภาค ความเป็นธรรม ความยุติธรรม และการให้เกียรติในความเป็นมนุษย์
กระบวนการซึ่งเกิดขึ้นในโรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่างๆ ซึ่งสอดแทรกอยู่ในทุกเนื้อหาวิชาและในส่วนอื่น ๆ ของหลักสูตร
รูปแบบการจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม
บูรณาการเนื้อหาวัฒนธรรมของนักเรียน เข้าไปในวิชาต่างๆ
การสร้างความรู้ใหม่
การลดอคติ
การสอนที่ยึดหลักความยุติธรรม
การปรับโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมในโรงเรียน
แนวทางการจัดการศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรมในโรงเรียน
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม
คือกระบวนการให้การศึกษาระดับขั้นพื้นฐานช่วยให้เด็กและเยาวชน ประชาชนเข้าใจ และยอมรับซึ่งความแตกต่างในเรื่องของความเป็นชนกลุ่มน้อย ด้านเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา ลัทธิความเชื่อ
หลักการที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม
คือการอยู่ร่วมกันของชุมชนชาวพุทธ คือการให้ทาน พูดจาที่ไพเราะ ทำตนให้เป็นประโยชน์
การอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม
การอยู่ร่วมกันของคนในที่หลากหลายวัฒนธรรม ได้แก่ ชุมชนชาวพุทธ มุ่งส่งเสริมการศึกษาแก่เยาวชนและประชาชน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
โรงเรียนได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรียน
แนวการจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
ระบบหมู่
เรียนรู้จากการกระทำ
การใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน
คำปฏิญาณและกฎ
การศึกษาธรรมชาติ
ความก้าวหน้าในการเข้าร่วมกิจกรรม
การสนับสนุนโดยผู้ใหญ่
แนวการจัดกิจกรรมชุมนุม
สำรวจความสนใจของผู้เรียนในการเลือกเข้าร่วมชุมนุม ชมรม
ให้ผู้เรียนดำเนินกิจกรรมได้หลากหลายทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน
มีครูที่ปรึกษา ชุมนุม ชมรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่กิจกรรม
ครูที่ปรึกษากิจกรรมประเมินตามหลักเกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
แนวการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
จัดกิจกรรมลักษณะโครงการ โครงงาน หรือกิจกรรม
จัดกิจกรรมร่วมกับองค์กรอื่น
จัดกิจกรรมในลักษณะบูรณาการใน 8 กลุ่มสาระ
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมี 2 แนวทาง
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายกิจกรรม
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อการตัดสิน
นางสาวภูริญา กันทิยะ 60206521