Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 อิทธิพลของมนุษย์สัมพันธ์กับบุคลิกภาพ : ccc - Coggle Diagram
บทที่ 6 อิทธิพลของมนุษย์สัมพันธ์กับบุคลิกภาพ :
6.4 การเสริมสร้างมนุษย์สัมพันธ์กับผู้อื่น
6.4.1 เทคนิคการสร้างมนุษย์สัมพันธ์
- ยิ้มแย้มแจ่มใจ 2. ฟังมากกว่าพูด 3. เจรจาไพเราะ 4. ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล 5. รู้จักเป็นฝ่ายให้ 6. รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 7.ยกย่องให้เกียรติผู้อื่นตามความเหมาะสม 8. ยอมรับในความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น 9. มีขันติ 10. มีบุคลิกภาพดี 11.ให้ความช่วยเหลือผู้อื่น 12.มีความเกรงใจ 13.รู้จักสังเกต 14.ให้การต้อนรับผู้อื่นเสมอ 15.มีอารมณ์ขัน
-
- บุคลิกภาพที่ช่วยเสริมสร้างมนุษย์สัมพันธ์ได้แก่
-
- บุคลิกภาพที่ขัดขวางการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ ได้แก่
(1) ชอบวิจารณ์ผู้อื่น (2) ไม่มีน้ำใจเป็นนักกีฬา (3) ชอบบงการให้คนอื่นทำตามที่ต้องการ (4) ทำตัวเป็นคนรู้ทุกเรื่อง
-
6.3 ความสำคัญ หลักปรัชญาพื้นฐาน และประโยชน์ของมนุษย์สัมพันธ์
6.3.2 หลักปรัชญาพื้นฐานของมนุษย์สัมพันธ์
1.หลักของศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ 2.หลักแห่งความแตกต่างด้านปัจเจกบุคคล 3.มนุษย์ต้องการรับแรงจูงใจ
6.3.3 ประโยชน์ของมนุษย์สัมพันธ์
1.ส่งเสริมบรรยากาศในการทำงาน 2. ช่วยสร้างกำลังใจในการทำงาน 3.ช่วยลดความขัดแย้งและปัญหาที่จะเกิดขึ้น
-
- มนุษย์สัมพันธ์มีความสำคัญต่อสถานบันครอบครัว
- มนุษย์สัมพันธ์มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตในสังคม
- มนุษย์สัมพันธ์มีความสำคัญต่อการทำงานเป็นทีม
- มนุษย์สัมพันธ์มีความสำคัญต่อการบริหารงาน
- มนุษยสัมพันธ์มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ
- มนุษย์สัมพันธ์มีความสำคัญต่อการเมือง
6.5 หลักธรรมที่ใช้ในการเสริมสร้างมนุษย์สัมพันธ์
-
6.5.2 หลักอิทธิบาท 4
- ฉันทะ คือ ความพอใจในงานที่ทำ 2. วิริยะ คือ ความขยัน 3. จิตตะ คือ ความเอาใจใส่ 4. วิมังสา การใช้เหตุผล
-
-
-
6.7 แนวคิดเกี่ยวกับการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
-
- บุคลิกภาพส่วนบุคคล แบ่งได้เป็น 3 สภาวะ
-
6.7.4 การติดต่อสื่อสารตามแนวคิดของทฤษฎีการวิเคราะห์สัมพันธภาพระหว่างบุคคล
- การสื่อสารที่สอดคล้องกัน 2. การสื่อสารที่ขัดแย้งกัน 3. การสื่อสารแบบซ่อนเร้น
6.7.2 ความสำคัญของทฤษฎีการวิเคราะห์สัมพันธภาพระหว่างบุคคล
- ช่วยให้บุคคลเข้าใจบุคลิกภาพตนเอง 2. ช่วยให้บุคคลเข้าใจความต้องการของผู้อื่น 3. สามารถใช้ TA บำบัดผู้ป่วย
6.7.5 ทัศนะของชีวิต
- ฉันดี-เธอดี 2. ฉันไม่ดี-เธอดี 3. ฉันดี-เธอไม่ดี 4. ฉันไม่ดี-เธอไม่ดี
-
- ความหมาย คือ การวิเคราะห์พฤติกรรมของตนเองและผู้อื่นทั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาด้านการติดต่อสื่อสาร
- ความเป็นมา คือ เพราะ TA เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ปัญหาของแต่ละบุคคล
- ข้อตกลงเบื้องต้น (1) คนทุกคนล้วนเกิดมาพร้อมความรู้สึกกังวลและทุกข์ใจ
-
- ความใส่ใจทางบวก เช่น การยิ้มให้ ทักทาย ผู้ที่ได้รับการเอาใจใส่จะส่งผลให้ผู้นั้นรู้สึกอบอุ่น
2.ความใส่ใจทางลบ เช่น ทำให้ผู้อื่นด้อยคุณค่าไร้ความหมาย อับอาย ส่งผลให้ผู้นั้นทำให้หน้าไม่พอใจ ขมวดคิ้ว