Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมของสัตว์(Animal Behavior) - Coggle Diagram
พฤติกรรมของสัตว์(Animal Behavior)
ปัจจัยต่าง ๆ ที่สำคัญต่อการเกิดพฤติกรรม
ตัวกระตุ้นปลดปล่อย เป็นตัวกระตุ้นที่เหมาะสมกับความพร้อมของร่างกายให้แสดงพฤติกรรม
เหตุจูงใจ ความพร้อมของร่างกายสัตว์ที่จะแสดงพฤติกรรม เช่น ความหิว กระหาย
สิ่งเร้า ตัวกระตุ้นให้สัตว์แสดงพฤติกรรม แสง สี เสียง อารมณ์ ความเครียด ระดับสารเคมี
กลไกปลดปล่อยพฤติกรรม วงจรประสาทที่ไวต่อตัวกระตุ้นปลดปล่อย
พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด (innate behavior)
ลักษณะสำคัญ
2.เป็นพฤติกรรมที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ ถูกกำหนดด้วยหน่วยพันธุกรรมหรือยีน (gene)
3.อาจถูกปรับปรุงหรือพัฒนาให้เหมาะสมมากขึ้นได้ด้วยการเรียนรู้ภายหลัง
1.เป็นพฤติกรรมที่สิ่งมีชีวิตแสดงออกมาได้โดยไม่ต้องผ่านการเรียนรู้หรือฝึกฝน
4.มีแบบแผนที่แน่นอน ในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันทุกตัวจะแสดงพฤติกรรมเหมือนกัน
ชนิดของพฤติกรรม
2.พฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์ (reflex หรือ simple reflex action) เป็นพฤติกรรมพื้นฐานซึ่งพบในสัตว์ที่มีระบบประสาททุกชนิด แสดงออกด้วยการที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายตอบสนองต่อสิ่งเร้าจากภายนอก
1.พฤติกรรมการเคลื่อนที่หรือโอเรียนเตชัน (orientation) เป็นพฤติกรรมที่ตอบสนองต่อปัจจัยทางกายภาพทำให้เกิดการวางตัวที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม
1.1ไคนีซิส (kinesis) เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกด้วยการเคลื่อนที่ทุกส่วนของร่างกาย
1.2แทกซิส (taxis) เป็นพฤติกรรมที่พบในโพรทิสต์ และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด
3.พฤติกรรมรีเฟล็กซ์แบบต่อเนื่อง (chain of reflex) หรือ ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์แบบซับซ้อน (complex reflex action)
3.1 มีมาแต่กำเนิด
3.2 มีแบบแผนของการแสดงออกที่แน่นอน
3.3 เป็นการตอบสนองด้วยพฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์หลายพฤติกรรมเกิดต่อเนื่องกันเป็นลูกโซ่
พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ (learning behavior )
แบ่งเป็น 5 ประเภท
3.การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (conditioning หรือ conditioned response หรือ conditioned reflex)
เป็นพฤติกรรมของสัตวืที่แสดงออกมาเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิดที่มากระตุ้น
เมื่อมีสิ่งเร้าชนิดแรกซึ่งเรียกว่า สิ่งเร้าแท้จริงหรือสิ่งเร้าที่ไม่มีเงื่อนไข (unconditioning stimulus)
ขณะที่คงมีการกระตุ้นจากสิ่งเร้าชนิดแรก เมื่อนำสิ่งเร้าชนิดที่ 2 ซึ่งเรียกว่า สิ่งเร้าไม่แท้จริงหรือสิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข (conditioning stimulus) มากระตุ้น
5.การเรียนรู้แบบใช้เหตุผล (reasoning หรือ insight learning)
การเรียนรู้แบบใช้เหตุผล เป็น พฤติกรรมการเรียนรู้ขั้นสูงสุดที่แสดงออกด้วยการแก้ไขปัญหาที่พบเห็นได้ อย่างถูกต้องโดยไม่จำเป็นต้องอาศัยการทดลอง
2.การเรียนรู้แบบฝังใจ (imprinting)
1.เป็นพฤติกรรมที่มีการทำงานร่วมกันระหว่างพันธุกรรมและการเรียนรู้
2.อาจแสดงในระยะแรกเกิด หรือภายหลังเมื่อเจริญเติบโตแล้ว
3.ความฝังใจที่เกิดขึ้นอาจจำไปตลอดชีวิต หรืออาจฝังใจเพียงระยะหนึ่ง
4.การเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก (trial and error learning )
เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกด้วยการที่สัตว์มีโอกาสทดลองการตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยที่ยังไม่รับรู้ว่าเมื่อตอบสนองไปแล้วจะเกิดผลดีหรือผลเสียหรือไม่
ผลของการของการตอบสนองจะทำให้สัตว์เกิดการเรียนรู้
1.การเรียนรู้แบบแฮบบิชูเอชันหรือความเคยชิน (habituation)
เป็นพฤติกรรมการเรียนรู้แบบที่ง่ายที่สุด คือ การตอบสนองของสัตว์ต่อสิ่งเร้าใดๆ ที่ไม่มีผลอะไรสำหรับมันที่เกิดซ้ำซาก โดยการค่อยๆ ลดการตอบสนองลง
พฤติกรรมทางสังคม (Social behavior)
เกิดขึ้นเมื่อ
เมื่อสัตว์มารวมอยู่เป็นเป็นหมู่พวก
มีพฤติกรรมที่ใช้เป็นสื่อ
2.1 การสื่อสารด้วยสารเคมี (Chemical Communication : Chemical Signal) ได้แก่การใช้กลิ่น หรือรส
2.2 การสื่อสารด้วยเสียง (Auditory Communication : Sound Signal)
2.3 การสื่อสารด้วยการสัมผัส (Tactile Communication : Physical Contact)
2.4 การสื่อสารด้วยท่าทาง (Visual Communication : Visual Signal)