Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหัวใจ และหลอดเลือดในภาวะวิกฤต,…
บทที่ 3
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหัวใจ
และหลอดเลือดในภาวะวิกฤต
กายวิภาคของหัวใจ
:<3:
Link Title
หัวใจตั้งอยู่ภายในช่องอก (Thoracic) ด้านหน้าระหว่างปอดทั้ง 2 ข้าง เหนือกระบังลม โดยค่อนไปทางด้านซ้ายเล็กน้อย
โครงสร้างของหัวใจ
:<3:
ชั้นเอนโดคาร์เดียม (endocardium)
:red_flag:
ชั้นในสุด เป็นชั้นเยื่อบุภายในผนังของหัวใจ ประกอบด้วยเซลล์เอนโดทีเลียมบุไปถึงลิ้นหัวใจ และบุไปถึงผนังด้านในของหลอดเลือดรวมไปถึงหลอดเลือดฝอยที่เหลือชั้นนี้เพียงชั้นเดียว ม้วนตัวประกอบกันเป็นท่อ
ชั้นอีพิคาร์เดียม (epicardium)
:red_flag:
เป็นชั้นนอกสุด เป็นชั้นของเยื่อหุ้มหัวใจ (pericardium)
ซึ่งประกอบด้วย เนื้อเยื่อไฟบรัส (fibrous) และซีรัส (serous tissue) ระหว่างเนื้อเยื่อ 2 ชั้น มีของเหลวหล่อลื่นอยู่ เพื่อป้องกันอันตรายจากการเสียดสีขณะหัวใจมีการบีบตัวและคลายตัว
ชั้นไมโอคาร์เดียม (myocardium)
:red_flag:
เป็นชั้นกลาง เป็นชั้นกล้ามเนื้อหัวใจเป็นส่วนใหญ่ แต่มีเนื้อเยื่อบางส่วนเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่นำคลื่นไฟฟ้าของหัวใจ
ซึ่งมี 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเป็นเซลล์พิเศษทำหน้าที่สร้างคลื่นไฟฟ้า เซลล์อีกกลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มเซลล์ที่ทำหน้าที่นำคลื่นไฟฟ้าให้กระจายไปทั่วทั้งหัวใจเรียกว่า ระบบเหนี่ยวนำพิเศษ
การประเมินสภาพผู้ป่วยที่มีความผิดปกติ
ของระบบหัวใจและหลอดเลือด
:<3:
การสัมภาษณ์
:red_flag:
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
:check:
อาการเริ่มต้นขึ้นแบบใด ลักษณะของอาการ
เป็นอยู่นานเท่าใด ความถี่
ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ภาวะแวดล้อมที่เกิดอาการนั้น
วัน เวลาที่เริ่มต้นมีอาการ
การคงอยู่ของอาการ เช่น คงอยู่เรื่อยมา กลับเป็นซ้ำ เป็นมากขึ้นหรือทุเลาลง
ตำแหน่งที่เกิดความผิดปกติภายในร่างกาย
ปัจจัยที่ทำให้เกิดอาการมากขึ้น ปัจจัยที่ทำให้อาการลดลง
การรับรู้และความคิดเห็นของผู้ป่วย
ต่อการบาดเจ็บของตนเอง
:check:
ประวัติในอดีต
:check:
ประวัติการดำเนินชีวิต
ประวัติครอบครัว
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
แหล่งช่วยเหลือผู้ป่วย
:check:
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ป่วย
:check:
ภูมิลำเนา เชื้อชาติ ศาสนา
ความแตกต่างของเชื้อชาติ ทำให้คนมีการดำเนินชีวิตที่แตกต่าง
การศึกษา สถานภาพสมรส ฐานะความเป็นอยู่
เป็นปัจจัยหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับความเจ็บป่วยได้
เพศ
บ่งบอกถึงพฤติกรรมต่างๆ ที่มีผลต่อการเกิดความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา
อายุ
เป็นตัวบ่งชี้ว่า ผู้ป่วยน่าจะมีปัญหาหรือความผิดปกติอย่างไร
อาชีพและหน้าที่การงาน
อาชีพเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือดได้ เช่น อาชีพที่มีความเครียดมาก
การทำหน้าที่ของร่างกายในระบบต่างๆ
:check:
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ :star:
ปริมาณ ความถี่ สี การขับปัสสาวะมากในเวลากลางคืน (nocturia) พบบ่อยในภาวะหัวใจวาย
ความผิดปกติของระบบอื่นๆ :star:
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น ปวดศีรษะ ไข้และหนาวสั่น
การไหลเวียนโลหิต :star:
เขียว (cyanosis)
เกิดจากการขาดเลือดไปเลี้ยง
มึนงงและเป็นลม (syncope)
สมองขาดเลือดไปเลี้ยง
บวม (edema)
มีประวัติบวมในส่วนต่ำของร่างกาย กดบุ๋ม (pitting edema) ถ้ามีอาการรุนแรงขึ้นจะบวมทั้งตัว สาเหตุจากน้ำนอกเซลล์มาก เกิดจากภาวะหัวใจวาย
อ่อนเพลีย (fatique) และออ่นแรง (weakness)
เกิดขึ้นเนื่องจาก CO ลดลง
เจ็บหน้าอก (chest pain )
มักเกิดจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย ปวดแน่น จุกเสียด
บริเวณกึ่งกระดูกอก
ใจสั่น (palpitation)
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ตามัว
ส่วนใหญ่เกิดจากมีความดันโลหิตสูง
อาการผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร :star:
ผู้ป่วยที่ีมีหัวใจซีกขวาวาย มักมีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน จากความผิดปกติของระบบย่อยอาหาร ตับโต
ระบบหายใจ :star:
หอบเหนื่อยเมื่อออกแรง (exertional dypnea)
เป็นอาการที่บ่งบอกว่าหัวใจซีกว้ายวายจากเลือดคั่ง
ไอ
อาการไอขณะนอนราบ หรือไอขณะออกแรง อาจมีอาการหายใจหอบเหนื่อยร่วมด้วย เกิดความเปียกชื้นของถุงลมปอด เป็นอาการเริ่มแรกของหัวใจซีกซ้ายวาย
เสียงแหบ (hoarseness)
มักพบในโรคไมตรัลตีบ เกิดจากการโป่งพองของเส้นเลือดเอออร์ติค
ความรุนแรงของโรคหัวใจ :star:
ระดับ 1
มีโรคหัวใจ แต่ไม่มีอาการ
ระดับ 2
ไม่มีอาการในการทำกิจวัตรประจำวัน แต่ถ้ามีต้องออกกำลังกายมากกว่าปกติ
ระดับ 3
มีอาการถึงแม้ทำงานเล็กน้อย แต่ไม่มีอาการขณะพัก
ระดับ 4
มีอาการขณะพัก
ข้อมูลจาก : สมาคมโรคหัวใจแห่งนิวยอร์ก (The New York Heart Assosiation)
การพยาบาล
:<3:
การพยาบาลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
:red_flag:
ให้นอนศีรษะสูงเล็กน้อย เพื่อลดจำนวนเลือดที่ไหลกลับเข้าสุ่หัวใจ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน 4-6 ลิตร/นาที ทันที ไม่ว่าจะมีภาวะแทรกซ้อนหรือไม่ก็ตาม
ดูแลให้พักผ่อนเต็มที่
โดยมีหลัก ดังนี้
จัดการพยาบาลในคราวเดียวกัน
อธิบายเหตุผลของแผนการรักษาเพื่อลดความเครียด
หลีกเลี่ยงการมีอารมณ์เสีย
จัดสภาพแวดล้อม โดยส่วนใหญ่ แพทย์จะให้ยากล่อมประสาท
วางของใช้ใกล้มือไม่ต้องออกแรงในการหยิบ
จำกัดญาติในการเยี่ยมผู้ป่วย
ไม่ให้ผู้ป่วยออกแรงในการเบ่งถ่ายอุจจาระ ควรให้ยาระบาย
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด
ลดความวิตกกังวล
สังเกต บันทึกสัญญาณชีพและการเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีหัวใจเต้นผิดจังหวะ
:red_flag:
วัตถุประสงค์ : คลื่นไฟฟ้าหัวใจคงที่ หรือกลับคืนสู่ภาวะปกติ :check:
การพยาบาล :check:
บันทึก/ติดตาม การตรวจ EKG และรายงานหากพบความผิดปกติ
ค้นหาสาเหตุของการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ จากการซักประวัติ อาการ Lab
บันทึกชีพจร ความดันโลหิต
เตรียมอุปกรณืให้พร้อม เพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันท่วงที
การทำ valsalva maneuver และกระตุ้น คาโรติคทไซนัส (carotid sinus massage) ในรายที่หัวใจเต้นเร็วเหนือเวนตริเคิล เพื่อช่วยให้อัตราการเต้นของหัวใจลดลง
ให้การพยาบาลตามแผนการรักษา และป้องกันภาวะเต้นผิดจังหวะ
วัตถุประสงค์ : เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆได้เพียงพอ :check:
การพยาบาล :check:
Record V/S
บันทึกปริมาณน้ำที่ได้รับ และสูญเสียออกจากร่างกาย
สังเกตอาการที่แสดงว่าเลือดออกจากร่างกายน้อยลง เช่น อ่อนเพลีย หายใจลำบาก ปวดศีรษะ
รายงานแพทย์หากพบความผิดปกติ และติดตาม EKG ให้ออกซิเจน สารน้ำ จำกัดกิจกรรม และให้ยาตามแผนการรักษา
สังเกตอาการที่บ่งชี้ว่าเลือดไปเลี้ยงหัวใจได้ไม่เพียงพอ ได้แก่ มึนศีรษะ เป็นลม ชัก
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤตของหัวใจ
:red_flag:
เตรียมเครื่องมือในการฟื้นคืนชีพให้พร้อม
แนะนำไม่ให้กลั้นแล้วเบ่ง (valsalva's maneuver)
ดูแลให้ได้รับยา Isoproterenal เพื่อเพิ่มอัตราการเต้นและบีบตัวของหัวใจ รวมทั้งลดแรงต้านทานของเส้นเลือดดำทั่วร่างกาย ทำให้มีปริมาณเลือดออกจากหัวใจเพิ่มขึ้น
ประเมินระดับความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะที่เกิดขึ้น การรักษา เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ซักถาม ระบายความรู้สึก
ดูแลให้ได้รับสารเหลวทางหลอดเลือดดำ
หลังเจาะช่องเยื่อหุ้มหัวใจ บันทึกของเหลว ปริมาณ และเก็บสิ่งส่งตรวจ บันทึกสัญญาณชีพ สังเกตภาวะแทรกซ้อน เช่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
จัดท่านอนที่สุขสบาย ส่งเสริมการหายใจโดยการนอนศีรษะสูง
บันทึกสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว ปริมาณปัสสาวะและความดันในหลอดเลือดดำส่วนกลาง
เมื่อกลับบ้านผู้ป่วยต้องมีความรู้ในการสังเกตความผิดปกติที่อาจแสดงว่ามีภาวะบีบรัดหัวใจเกิดขึ้น และการมาตรวจตามนัด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
:red_flag:
1.ดูแล ส่งเสริม และการประเมินการทำงานของหัวใจเพื่อให้สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายอย่างเพียงพอ :check:
ติดตามผลการเจาะอิเล็คโตรไลต์ทุกครั้งที่เจาะ เพราะอาจมีการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะโปแตสเซียม ซึ่งจะมีผลต่อจังหวะการเต้นของหัวใจ หรือเกิดจากฤทธิ์ข้างเคียงของยา
จำกัดกิจกรรม เพื่อลดการทำงานของหัวใจและความต้องการการใช้ออกซิเจน
วัดสัญญาณชีพ ได้แก่ ความดันโลหิต ชีพจร การหายใจและประเมินความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ฟังปอดอย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง
2.ดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น เนื้อเยื่อส่วนปลาย เนื้อเยื่อสมองได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ เจ็บหน้าอก ซึ่งเกิดจากการทำงานของลิ้นหัวใจไม่มีประสิทธิภาพ :check:
ส่งเสริมให้เนื้อเยื่อส่วนปลายได้รับเลือดไปเลี้ยงอย่างเพียงพอ
สังเกตอาการเจ็บหน้าอก
ประเมินทางระบบประสาท ได้แก่ ระดับความรู้สึกตัว กำลังแขน ขา และวัดสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
3.ให้ความรู้เกี่ยวกับแผนการรักษาและการปฏิบัติตัว :check:
แนะนำสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง คือ การออกกำลังกายภายหลังมื้ออาหารระหว่างเครียด หรือมีไข้สูง ไม่ควรสวมเสื้อผ้าที่รัดแน่นเกินไป การรับประทานอาหารไขมันและโคเลสเตอรอลสูง
ให้ความรู้เกี่ยวกับการรักาาพยาบาล
แนะนำให้กลับมาพบแพทย์ตามนัด
สำหรับผู้ป่วยที่ผ่าตัดลิ้นหัวใจ จะต้องรับประทานยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด (anticoagulants)
4.บอกแพทย์/ทันตแพทย์เกี่ยวกับการรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดทุกครั้งที่พบแพทย์ :check:
5.พบแพทย์เมื่อมีอาการเลือดออกไม่หยุด เลือดกำเดาออก ปัสสาวะเป็นสีแดงจางๆ อุจจาระมีเลือดปน อ่อนเพลีย เป็นลม ปวดศีรษะ ปวดท้อง ผิวหนังมีผื่น :check:
นายปิยังกูร หิรัญรัตน์ เลขที่ 70 รหัสนักศึกษา 611501071 ห้อง 34/1 ชั้นปีที่ 3