Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือดในภาวะวิกฤต, นางสาว รัตติยา…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือดในภาวะวิกฤต
ประเมินสภาพผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ป่วย
ประวัติในอดีต
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
การรับรู้และความคิดเห็นของผู้ป่วยต่อการเจ็บป่วยของตนเอง
แหล่งช่วยเหลือผู้ป่วย
ก
ารทำหน้าที่ของร่างกายในระบบต่างๆ
ระบบหายใจ
หอบเหนื่อยเมื่อออกแรง
Paraoxysmal nocturnal dyspnea
หอบเหนื่อยในท่านอนราบ
ไอเป็นเลือด
เสียงแหบ
หายใจไม่สม่ำเสมอ
การไหลเวียนเลือด
เจ็บหน้าอก
บวมเขียว
มึนงงและเป็นลม
อ่อนเพลีย
ใจสั่นตามัว
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ปริมาณ ความถี่ สี การขับถ่ายปัสสาวะมากในเวลากลางคืน
ความผิดปกติในระบบอื่นๆ
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น ปวดศีรษะ ไข้และหนาวสั่น
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจและการผ่าตัดเปลี่ยนของลิ้นหัวใจ
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mitral stenosis)
ลิ้นหนาตัวขึ้นและอาจจะมีหินปูนมาจับซึ่งเป็นผลรวมมาจากการรวมกับคอดี้ เทนดินี่ การเปลี่ยนแปลงทำให้ลิ้นไม่เคลื่อนไหวตามปกติทำให้เลือดไหลเข้าสู่เวนตริเคิลซ้ายลดลง
ลิ้นไมตรัลรั่ว ((Mitral regurgitation)
เป็นการผิดปกติของลิ้นไมทรัลทำให้มีการไหลย้อนกลับของเลือดจาก ventricle ซ้ายไปยังเอเตรียมขวา
ลิ้นเอออร์ติคตีบ(Aortic Stenosis) )
เป็นความพิการโดยลิ้นหนาตัวขึ้นและมีการยึดติดของกลีบลิ้นซึ่งเป็นผลมาจากการมีหินปูนมาเกาะจับทำให้รูเปิดของ เอออร์ติคแคบลง
ลิ้นเอออร์ติครั่ว (Aortic regurgitation)
เป็นความผิดปกติของลิ้นทำให้เลือดออกจากเวนตริเคิลซ้ายไปยัง aorta ไหลย้อนกลับเข้าสู่เวนตริเคิลซ้าย
การรักษาโรคลิ้นหัวใจมี 2 วิธี
รักษาทางอายุรกรรม
ยาต้านการเต้นผิดจังหวะของหัวใจ
ยาต้านการแข้งตัวของเลือด
รักษาทางศัลยกรรม
ชนิด
ของการผ่าตัด
การขยายลิ้นหัวใจ
การซ่อมลินหัวใจ
การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
เป็นการผ่าตัดชนิดเปิดต้องใช้เครื่องหัวใจปอดเทียมช่วยทำหน้าที่แทนหัวใจและปอดระหว่างการผ่าตัด
ใส่สายยางเข้าทาง superior vena cava และ inferior vena cava ทางหัวใจห้องบนขวาเพื่อนำเลือดเข้าเครื่องหัวใจปอดเทียม
เปลี่ยนลิ้นหัวใจเย็บปิด .ใส drain ไไว้ 2 ปลายท่อให้อยู่ในช่องเยื่อหุ้มหัวใจอีกท่อปลายหนึ่งอยู่นอกชั้นเยื่อหุ้มหัวใจแล้วเย็บปิดเยื่อหุ้มหัวใจแบบหลวมๆเพื่อป้องกันภาวะหัวใจถูกบีบกดแล้วเย็บติดกระดูกหน้าอก
การพยาบาล
ดูแลส่งเสริมและประเมินการทำงานของหัวใจเพื่อให้สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายอย่างเพียงพอ
ดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น เนื้อเยื่อส่วนปลาย เนื้อเยื่อสมองได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ เจ็บหน้าอกซึ่งเกิดจากการทำงานของลิ้นหัวใจไม่มีประสิทธิภาพ
ให้ความรู้เกี่ยวกับแผนการรักษาและการปฏิบัติตัวบอกแพทย์หรือทันตแพทย์เกี่ยวกับการรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดทุกครั้งที่พบแพทย์
พบแพทย์เมื่อมีอาการเลือดออกไม่หยุด เลือดกำเดาออก ปัสสาวะเป็นสีเลือดจาง อุจจาระมีเลือดป อ่อนเพลียเป็นล ปวดศีรษะ ปวดท้อง ผิวหนังมีผื่นเป็นต้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤต
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย กลไกการปรับชดเชยไม่สามารถที่จะปรับชดเชยได้อีกต่อไป
ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว
หัวใจด้านซ้ายล้มเหลว
-เหนื่อยง่ายเมื่อมีกิจกรรม
-อาการหายใจหอบในท่านอนราบ
-ไอ
-อาการหอบในช่วงกลางคืน
-อาการเขียว
-หายใจเสียงดัง
หัวใจด้านขวาล้มเหลว
-ตับม้ามโต
-มีการคั่งของน้ำในช่องท้อง
-มีการยืดขยายของหลอดเลือดดำที่คอ
-มีการบวมของเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง
การรักษาและการพยาบาล
เพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ ให้ยาดิจิทาลิส โดปามีน โดบูทามีน และการให้ออกซิเจน
ภาวะการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ภาวะการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac temponade)เป็นภาวะที่มีการบีบรัดหรือกดต่อหัวใจอย่างเฉียบพลัน ผลมาจากความดันในช่องเยื่อหุ้มหัวใจเพิ่มขึ้น การสะสมของน้ำ เลือดหนอง ทำให้ประสิทธิภาพในการบีบตัวขอหัวใจลดลง
สาเหตุ
การได้รับบาดเจ็บต่อเยื่อหุ้มหัวใจ
การแพร่กระจายของมะเร็งมายังเยื่อหุ้มหัวใจ
การอักเสบหรือการติดเชื้อที่ช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
การฉายรังสี
อุบัติเหตุจากการใส่สายสวนหรือเครื่องกระตุ้นหัวใจ
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยมักมาพบแพทย์ด้วยอาการเหนื่อยหอบ หายใจขัด เจ็บหน้าอก น้ำหนักลด เบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียน
ลักษณะสำคัญที่พบในภาวะหัวใจถูกกดในระยะเฉียบพลันประกอบด้วย พบเสียงหัวใจเบา ความดันในหลอดเลือดดำกลางสูง และความดันในหลอดเลือดแดงต่ำ
การรักษา
การเจาะเอาน้ำออก
การผ่าตัดทรวงอก
การผ่าตัดช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
การพยาบาล
บันทึกสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว ปริมาณปัสสาวะและความดันในหลอดเลือดดำส่วนกลาง
จัดท่านอนที่สุขสบาย ส่งสริมการหายใจโดยการนอนศีรษะสูง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับสารเหลวทางหลอดเลือด
ดูแลให้ได้รับยา Isoproterenal เพื่อเพิ่มอัตราการเต้นและบีบตัวของหัวใจ รวมทั้งลดแรงต้านทานของเส้นเลือดดำทั่วร่างกายทำให้มีปริมาณเลือดออกจากหัวใจเพิ่มขึ้น
นางสาว รัตติยา สุขคุ้ม เลขที่ 23 ห้อง 34/2 รหัสนักศึกษา 611501103