Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Primary Medical Care for Emergency Condition: Animal Bites and Poisoning -…
Primary Medical Care for Emergency Condition: Animal Bites and Poisoning
Animal bite
การถูกสุนัข หรือแมวกัด
ล้างแผลด้วยน้ำเปล่า ฟอกสบู่หลายๆครั้งทันทีอย่างน้อย 15 นาที เช็ดแผลด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ เช่น Providone iodine
วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
Pre-exposure rabies prophylaxis
ประชาชนทั่วไป: PVRV, CPRV, PCECV, PDEV 0.5-1 ml. IM
(Deltoid) 2 dose: Day 0, 7 , PVRV, CPRV, PCECV 0.1 ml. ID
(ต้นแขนทั้ง 2 ข้าง) 2 dose: Day 0, 7/21
สัตวแพทย์ ผู้ที่ทำงานปศุสัตว์ บุรุษไปรษณีย์ และผู้ชำแหละเนื้อสัตว์ PVRV, CPRV, PCECV, PDEV 0.5-1 ml. IM (Deltoid) 3 dose: Day 0, 7, 21/28 , PVRV, CPRV, PCECV 0.1 ml. ID (ต้นแขนทั้ง 2 ข้าง) 3 dose: Day 0, 7, 21/28
Post-exposure prophylaxis
ไม่เคยหรือเคยแต่น้อยกว่า 3 เข็ม ฉีดวัคซีนเข้ากล้ามเนื้อต้นแขนวันที่ 0, 3, 7, 14 และ 30 หรือ ฉีดวัคซีนเข้าในผิวหนังบริเวณต้นแขน จำนวน2 จุด วันที่ 0, 3, 7 และ 30 ถูกเลีย น้ำลายถูกผิวหนังที่มีแผล ถูกกัดหลายแผลและมีเลือดออก สิ่งคัดหลั่งถูกเยื่อบุตา ปาก จมูก มีแผลที่ผิวหนัง และสัมผัสสารคัดหลั่งจากร่างกายสัตว์ เพิ่มการฉีด RIG (ERIG 40 IU/Kg/ HRIG 20 IU/Kg) รอบแผลด้วย
เคยฉีดเข็มสุดท้ายเกิน 6 เดือน ฉีดวัคซีนเข้ากล้ามเนื้อต้นแขนวันที่ 0 และ 3 หรือ ฉีดวัคซีนเข้าในผิวหนังบริเวณต้นแขน จำนวน 1 จุดวันที่ 0 และ 3
เคยฉีดเข็มสุดท้ายแต่ไม่เกิน 6 เดือน ฉีดวัคซีนเข้ากล้ามเนื้อต้นแขนครั้งเดียว หรือ ฉีดวัคซีนเข้าในผิวหนังบริเวณต้นแขน จำนวน 1 จุด ครั้งเดียว
วัคซีนป้องกันบาดทะยัก
ได้รับมาแล้วอย่างน้อย 3 ครั้ง และฉีดเข็มสุดท้ายนานกว่า 5 ปี ให้ใช้ Td 1 เข็ม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
ไม่เคยได้รับ/ได้น้อยกว่า 3 ครั้ง ให้วัคซีน Td เข้ากล้าม 3 ครั้ง คือวันที่ 0, 1 เดือน และ 6 เดือน
การให้ยา
ผู้ใหญ่ Amoxicillin 500 mg, Doxycycline 100 mg/ Ibuprofen 400 mg, เด็ก Doxycycline 1.1-2.2 mg./kg/ Ibuprofen syrup 5-10 mg./kg./dose
งูกัด
Neurotoxicity, Hematotoxin, Myotocxin
ตรวจ Venous clotting time (VCT), Prothrombin time (PT), Activated partial thromboplastin (APTT) , Serum potassium, SGOT, SGPT, และ CPK สูง, พบปัสสาวะสีเข้ม Hemoglobinuria และ Myoglobinuria
รักษาโดยดามบริเวณที่ถูกงูกัดด้วยแผ่นไม้หรือวัสดุแข็งใช้ผ้ายืด (Elastic bandage) รัดให้แน่น ประเมินการหายใจ และการไหลเวียนของเลือด การเกิด Anaphylactic shock ให้ Adrenaline
เซรุ่มต้านพิษงู Monovalent antivenom, Polyvalent antivenom
พิษจากแมลง
การรักษาเบื้องต้น: เอาเหล็กในออกโดยการอาจใช้ขอบบัตร หรือปลายปากกากดที่แผลเพื่อดันเหล็กในออกมา ประคบเย็น ให้ยาเพิ่มเติม Prednisolone* 40-60 mg, Ibuprofen 400 mg, Amoxicillin 500 mg
Anaphylaxis ให้ Epinephrine 0.01 ml./kg. IM
พิษจากแมงกะพรุน ให้รีบล้างด้วยน้ำทะเลหรือน้ำเกลือ มีหนวดแมงกะพรุนติดอยู่ให้รีบนำออกใช้คีมคีบหรือผ้าห่อมือก่อนสัมผัส ห้ามใช้มือเปล่าจากนั้นล้างทำความสะอาดแผล รักษาตามอาการด้วยยาแก้ปวด ยาแก้แพ้
Drug overdose
Paracetamol
toxic metabolites ที่เป็นพิษต่อตับและไต ต้านพิษด้วย N-acetylcysteine (NAC) ภายใน 10 ชั่วโมงแรกหากเกิน 24 ชั่วโมงไปแล้วจะไม่ได้ผล
Benzodiazepines
ต้านพิษด้วย Flumazenil แต่ห้ามให้ Flumazenil ในผู้ที่มีประวัติแพ้ยา โรคลมชัก
พิษจากสารเคมี
Organophosphates และ carbamates เป็นยาฆ่าแมลง
ยาที่ใช้ต้านพิษ Pralidoxime (2-PAM) ในเด็ก 25-50 mg/kg IV, ผู้ใหญ่ 1-2 gm. IV และ Atropine ผู้ใหญ่ 1-5 mg ทางเส้นเลือดดำ, เด็ก 0.05 mg/kg ทางเส้นเลือดดำ
พิษจาก Paraquat
ยาที่ใช้ต้านพิษ Fuller's earth (60 gm/bottle) 150 gm ผสมน้ำ 1 ลิตร ให้ทางปาก, 7.5% bentonite 100-150 gm, Activated charcoal 100-150 g (2 gm/1kg) และให้ร่วมกับยาระบาย MOM 30 ml ทุก 4-6 ชั่วโมงจนผู้ป่วยถ่ายอุจจาระ
พิษจากผลิตภัณฑที่ใชในบานเรือน ได้แก่ ผงซักฟอก น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาล้างจาน น้ำยาล้างห้องน้ำ ฯลฯ
การรักษาให้ผู้ป่วยดื่มน้ำหรือนม ให้ผงถ่าน (Activated charcoal) หลังจากผ่านการล้างท้อง (Gastric larvage)
พิษจากเห็ด
การรักษากระตุ้นให้อาเจียน หรือใช้สายยางสวนล้างกระเพาะอาหารเช่นเดียวกับการดูแลผู้ที่ได้รับพิษจากผลิตภัณฑที่ใชในบานเรือน