Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤตของระบบทางเดินหายใจ, นางสาว รัตติยา สุขคุ้ม…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤตของระบบทางเดินหายใจ
ภาวะหายใจล้มเหลว (Respiratory Failure)
ภาวะที่ร่างกายไม่สามารถรักษาระดับออกซิเจนและคารืบอนไดออกไซด์ในเลือดแดงให้สมดุลได้
ชนิดของภาวะหายใจล้มเหลว
แบ่งตามขบวนการที่ทำให้เกิดภาวะล้มเหลว
Pump failure เกิดจากความผิดปกติของกลไกการหายใจเข้าออกทำให้การระบายอากาศลดลงหรือไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายผลสำคัญที่เกิดขึ้นคือ PaCO2 สูงขึ้นและมีภาวะความเป็นกรดในเลือด
1.2 Gas exchange failureกิดจากความผิดปกติที่ปอดทำให้การแลกเปลี่ยนก๊าซไม่เพียงพอผลคือ PaO2 ลดลงโดยที่ระยะแรก PaCO2 จะยังคงมีค่าปกติทั้งนี้เพราะ PO2 สามารถซึมซาบได้ดีกว่า O2 ถึง 20 เท่าแต่ในระยะท้าย PaCO2 จะมีค่าสูงขึ้น
แบ่งตามระยะเวลาที่เกิดระยะหายใจล้มเหลว
ภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน acute respiratory failure เป็นภาวะหายใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นในระยะเวลารวดเร็วอาจเป็นเพียงนาทีหรือเป็นวัน
ภาวะหายใจล้มเหลวเรื้อรัง chronic respiratory failure เป็นภาวะหายใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นมานานอาจเป็นเดือนหรือปี
สาเหตุของการเกิดภาวะการหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
โรคของสมอง
โรคไขสันหลัง
โรคของระบบประสาทและกล้ามเนือ
โรคของทรวงอกและเยือหุ้มปอด
โรคของระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคของทางเดินหายใจส่วนบน ส่วนล่าง และถุงลม
อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจล้มเหลว
อาการและอาการแสดง
ภาวะเลือดขาดออกซิเจน
สับสนกระวนกระวายหายใจ ไม่ปกติใจสั่น เจ็บหน้าอก
เขียว ชัก หมดสติหายใจตื้น เร็วจังหวะการหายใจผิดปกติ หัวใจห้องขวาล้มเหลว ความดันเลือดสูง ชีพจรเร็วต่อมาช้าลงและเต้นไม่สม่ำเสมอ
ภาวะเลือดมีคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง
ปวดศีรษะ สับสน อ่อนเปลี้ย เพลียแรง
papilledema flapping tremor twitching ของกล้ามเนื้อ สมองบวม เหงื่ออก ตัวแดง ความดันโลหิตเพิ่ม ชีพจรเร็ว ต่อมาระยะท้ายความดันเลือดต่ำ
Adult Respiratory Distress Syndrome (ARDS)
เป็นกลุ่มอาการของโรคหรือสภาพการณ์ที่มีผลทำให้เกิดการบาดเจ็บต่อไปโดยมีสาเหตุจากหลายองค์ประกอบกลุ่มอาการนี้เป็นกลุ่มอาการที่สำคัญที่ทำให้เกิดการหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
สาเหตุของ ARDS
ภาวะช็อคจากสาเหตุต่างๆ
การได้รับอุบัติเหตุ
การติดเชื้อ
การสูดดมก๊าซพิษ
การสูดสำลัก ซึ่งเป็นเศษอาหาร น้ำย่อยในกะเพะอาหาร
การได้รับยาเกินขนาด
ภาวะเลือดแข็งตัวในหลอดเลือด
อาการและอาการแสดง
ลักษณะเด่นทางคลินิกของ ARDS คือ cyanosisที่เกิดขึ้นจะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการให้ออกซิเจนโดยนาเศร้าแคนนูล่าหรือเมตรหรือแม้แต่การใช้เครื่องช่วยการหายใจ ventilator ก็ไม่อาจแก้ภาวะ hypoxiaได้
การตรวจปอดจะฟังได้fine crepitation ทั่วๆไปที่ปอดทั้งสองข้าง ใน ARDS Central venous pressure และ pulmonary wedge pressure จะไม่สูงขึ้นเหมือนภาวะหัวใจวายโดยทั่วไป
มีอาการไอหอบเหนื่อยเหงื่อออกมากและกระสับกระส่ายอาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นภายในเวลาเป็นชั่วโมงหรือเป็นวันหลังจากเกิดโรคหรือภาวะต่างๆที่มีผลเป็นอันตรายต่อปอด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤตของระบบหายใจ
การพยาบาลเพื่อแก้ไขภาวะเลือดขาดออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์พยาบาลสามารถให้การพยาบาลโดย
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยการดูดเสมหะให้ผู้ป่วยในระยะเวลาอันสั้นไม่ควรเกิน 20 วินาทีเพื่อป้องกันการขาดออกซิเจนเพิ่มขึ้น
ดูแลจัดท่าให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวกขึ้น
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลมและยาสเตียรอยด์เพื่อช่วยขยายหลอดลมและลดอาการบวมอักเสบของหลอดลม
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างเพียงพอเพื่อช่วยละลายเสมหะและเพิ่มความชุ่มชื้น
Postural drainage และแนะนำวิธีการเอาที่ถูกต้องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขับเสมหะ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพื่อเป็นการแก้ไขภาวะเลือดขาดออกซิเจนโดยให้ทาง Cannula หรือMask ในปริมาณ 30 ถึง 40 เปอร์เซ็นต์และควรประเมินการตอบสนองต่อการให้ออกซิเจนโดยการบันทึกสัญญาณชีพติดตามผลการตรวจก๊าซในเลือดแดงอย่างต่อเนื่อง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะการขาดสารอาหารพยาบาลสามารถให้การพยาบาลโดย
ประเมินภาวะโภชนาการของผู้ป่วยโดยการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงติดตามหาค่าของโปรตีนอัลบูมินในเลือด
กรณีที่ผู้ป่วยรับประทานอาหารทางปากไม่ได้ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารทางสายยางในปริมาตรที่เพียงพอกับความต้องการตามสภาวะของโลกและแคลอรี่ที่เหมาะสม
การพยาบาลเพื่อรักษาความสมดุลของสารน้ำ( ในผู้ป่วยARDS) พยาบาลสามารถให้การพยาบาลโดย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์และบันทึกความสมดุลของสารน้ำเข้าและออกให้สมดุล
การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษาของแพทย์ภาวะปอดบวมน้ำของแพทย์พร้อมทั้งประเมินการตอบสนองต่อการรักษา
ติดตามดูปริมาณสารน้ำในร่างกายโดยประเมินหาค่าของ pulmonary capillary wedge pressure และความดันในหลอดเลือดต่ำส่วนกลาง
ตรวจสอบสัญญาณชีพเพื่อเฝ้าระวังสารน้ำท่วมปอด
ฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของภาวะน้ำเกินภาวะน้ำท่วมปอดเช่นฟังปอดได้ยินเสียงcapitation และไอเป็นฟองสีชมพู
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
หลักการทํางานของเครื่องช่วยหายใจ
คือการทําให้อากาศเคลื่อนเข้าและออกจากปอดโดยการทําให้เกิดความแตกต่างระหวางความดันในปอดและภายนอกร่างกาย
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
ชนิดทําให้ความดันภายนอกต่ํากว่าความดันในช่องเยื่อหุ้มปอดและในปอด (Subatmospheric pressure to the outside of chest wall) เพื่อแทนการทํางานของกล้ามเนื้อที่ใช้หายใจ ได้แก่ ปอดเหล็กในยุคโบราณ โดยให้ผู้ป่วยนอนในถังเหล็กที่หุ้มมิดชิด โผล่ออกมาแล้วใช้เครื่องดูดทําให้สูญญากาศในถัง เพื่อให้เกิดช่วยหายใจเข้า ปัจจุบันไม่ใช้แล้ว
ชนิดทำให้ความดันภายนอกสูงกว่าความดันในปอด intermittent Pressure Ventilation โดยที่เครื่องช่วยหายใจจะเป่าลมที่มีความดันสูงกว่าบรรยากาศเข้าปอดผู้ป่วยจนถึงค่าที่กำหนดเครื่องจะหยุดทำงานและปล่อยให้เกิดการหายใจออกตามปกติ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ และการป้องกันภาวแทรกซ้อน
การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจโดยทำchest physical therapy อย่างสม่ำเสมอใช้การ์ดที่หายใจมีความชื้นเพียงพอเพื่อให้เสมหะเหลวและดูดออกง่ายพร้อมกับจัดท่าผู้ป่วยให้เหมาะแก่การขจัดเสมหะและคอยดูดเสมหะออกจากหลอดลมบ่อยๆจะทำให้ผู้ป่วยนอนหัวต่ำเป็นบางครั้งเพื่อให้เสมหะไหลย้อนออกมาใน Tracheaจะได้ดูดง่ายการดูดเสมหะต้องกระทำโดยวิธีปลอดเชื้อ
ระวังการติดเชื้อจากสิ่งแวดล้อมซึ่งมักเกิดจากการสัมผัสโดยตรงจากบุคคลมากกว่าจากอากาศ
การจัดท่าผู้ป่วยควรคำนึงถึงเรื่องวเพื่อป้องกันการเกิด atelectasis ถ้าผู้ป่วยท้องอืดควรให้นอนถ้าหัวสูงเพื่อลดแรงกดของท้องต่อกระบังลมบางครั้งเพื่อผลต่อสุขภาพจิตควรให้ผู้ป่วยนอนท่า sitting Position
ให้มีการหายใจลึกเป็นครั้งคราวประมาณ 6-8 ครั้งต่อชั่วโมง
การดูดเสมหะก่อนและหลังการดูดเสมหะต้องให้ออกซิเจนเสมอการดูดแต่ละครั้งไม่ควรนานเกิน 10 วินาทีและพยายามหลีกเลี่ยงการกระทำที่รุนแรง
การเลิกใช้เครื่องช่วยหายใจ (Weaning from mechanical ventilation)
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี
ภาวะหัวใจและหลอดเลือด stable
ไม่มีการติดเชื้อของปอดในระยะอันตราย
มีกําลังกล้ามเนื้อแข็งแรงดี
นางสาว รัตติยา สุขคุ้ม เลขที่ 23 ห้อง 34/2 รหัสนักศึกษา 611501103