Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คุณป้าอุดม จักกลาง อายุ 70 ปี - Coggle Diagram
คุณป้าอุดม จักกลาง อายุ 70 ปี
โรคประจำตัว
โรคความดันโลหิตสูง
การวินิจฉัยโรคในปัจจุบัน
โรค Choroidal melanoma
ประวัติการเจ็บป่วย
ปัจจุบัน
1 เดือนก่อน มีอาการสายตาพร่ามัว การมองเห็นลดลง ระคายเคืองเหมือนมีอะไรภายในดวงตา เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลรามาธิบดีโดยการผ่าตัดเอาลูกตาข้างซ้ายออกทั้งหมด (Enucleation) ปัจจุบันไปตรวจตามนัด และรับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลรามาธิบดี
อดีต
26 ปีก่อนได้รับการผ่าตัดไส้ติ่ง
37 ปีก่อนได้รับการผ่าตัดเนื้องอกในมดลูก
ครอบครัว
พี่ชายป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง
พี่สาวคนแรกป่วยเป็นโรคมะเร็งลำไส้
พยาธิสภาพ
โรคความดันโลหิต
โรคความดันโลหิตสูง (hypertension) ความดันโลหิตสูงจะทำให้เกิดหลอดเลือดแข็งและตีบ เมื่อหัวใจบีบตัวหัวใจจะบีบเลือดไปยังหลอดเลือดแดง ทำให้เกิดความดันโลหิตซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจ และแรงต้านทานของเลือด หัวใจของคนเราเต้น 60-80 ครั้ง
โรค Choroidal melanoma
Choroidalmelanoma เป็นมะเร็งชนิดหนึ่งที่มีต้นกาเนิดมาจาก choroid ซึ่งเป็นชั้นของเนื้อเยื่อตาที่หุ้มเรตินา มันเป็นรูปแบบที่ค่อนข้างหายากของโรคมะเร็งที่มักจะสร้างความทุกข์ทรมานให้กับผู้ที่มีอายุเกิน 55 ปีโดยปกติแล้ว Choroidalmelanoma จะไม่ทาให้เกิดอาการทางกายในระยะแรก แต่ในที่สุดมันก็สามารถนาไปสู่ปัญหาการมองเห็น
ส่วนใหญ่จะเกิดกับตาเพียงข้างเดียว และมะเร็งมักจะแพร่กระจายไปตามเส้นประสาทตา (Optic nerve) และไปยังระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous) ทาให้มีอาการเหมือนโรคมะเร็งสมอง คือ ชัก ความดันในสมองสูง ปวดศีรษะ อาเจียน ซึม อาจแพร่กระจายไปตามกระแสเลือดไปสู่อวัยวะอื่นๆ เช่น กระดูก ไขกระดูก
ข้อวินิจฉัยที่ 4
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เนื่องจากสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน
SD : ผู้ป่วยบอกว่าพื้นบ้านไม่แข็งแรง
ผู้ป่วยบอกว่าทางเดินแคบ
ผู้ป่วยบอกว่าทางเดินไปห้องน้ำสูงชัน
OD : ภายในบ้าน มีพื้นไม้ที่ไม่ค่อยเสมอกัน
ทางเดินแคบเกินไป เสี่ยงต่อการพัดตกข้างทาง
ทางเดินเข้าบ้านไม่แข็งแรง มีไม้พุพัง และแคบ
ทางเดินไปห้องน้ำสูงชัน
ข้อวินิจฉัยที่ 2
ส่งเสริมเรื่องความรู้และการปฏิบัติตัวภายหลังการผ่าตัด Enucleation
SD : ผู้ป่วยบอกว่ายังไม่เข้าใจในการดูแลตนเองหลังผ่าตัด
OD : สอบถามถึงการดูแลตนเอง ผู้ป่วยดูแลตนเองไม่ถูกต้อง
ข้อวินิจฉัยที่ 3
มีภาวะโภชนาการเกินหรือโรคอ้วน เนื่องจากมีพฤติกรรมการกินไม่เหมาะสม
SD : ผู้ป่วยบอกว่าชอบรับประทานอาหารที่มีรสเปรี้ยว และ รสหวาน
: ผู้ป่วยบอกว่าชอบดื่มชา กาแฟ
OD : ผู้ป่วยมีน้ำหนัก 65 กิโลกรัม สูง 160 เซนติเมตร
ค่า BMI = 25.4
ค่า BMI อยู่ในเกณฑ์อ้วนในระดับ 1
ข้อวินิจฉัยที่ 1
เสี่ยงต่อความดันโลหิตสูง เนื่องจากปฏิบัติตัวไม่เหมาะสม
SD : ผู้ป่วยบอกว่าผู้ป่วยชอบทำงานบ้าน แล้วทำให้มีอาการเหนื่อย รู้สึกเหมือนความดันจะขึ้น
OD : ผู้ป่วยไม่ค่อยดูแลตนเอง เนื่องจากผู้ป่วยชอบทำงานบ้าน