Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ภาษาต่างประเทศกับ การพัฒนาวิชาชีพครู, นางสาวณิชกานต์ แดงจันทร์…
บทที่ 6
ภาษาต่างประเทศกับ
การพัฒนาวิชาชีพครู
ความสำคัญของภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู
ทักษะภาษาอังกฤษ : ความจำเป็นพื้นฐานในวิชาชีพครู
แนวทางการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของครู
หมั่นเข้าหาแหล่งข้อมูลทางวิชาการที่เป็นภาษาอังกฤษ
สอดแทรกสอนภาษาอังกฤษในวิชาที่รับผิดชอบ
ใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
จัดตารางและมีวินัยฝึกฝนต่อเนื่อง
สร้างแรงจูงใจพัฒนาภาษาอังกฤษให้ตนเอง
รวมตัวพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
การพัฒนาวิชาชีพครูสู่สมรรถนะมาตรฐานสากล
กรอบสมรรถนะวิชาชีพครูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สมรรถนะหลัก (Competency) ของครูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วย 11 ด้าน และภาระงาน / ความสามารถเฉพาะ
การเตรียมแผนการสอนที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียน
การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
การพัฒนาและการใช้ทรัพยากรสำหรับการเรียนการสอน
การพัฒนาทักษะการจัดลำดับความคิดในระดับสูง
การอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้
การส่งเสริมค่านิยมด้านศีลธรรมและจริยธรรม
ส่งเสริมการพัฒนาชีวิต และทักษะวิชาชีพแก่ผู้เรียน
การวัดและประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน
การพัฒนาด้านวิชาชีพ
การสร้างเครือข่ายกับผู้เกี่ยวข้องโดยเฉพาะผู้ปกครองนักเรียน
การจัดสวัสดิการและภารกิจแก่นักเรียน
เป้าหมายสำคัญ คือ เพื่อให้ผู้เรียน มีความสุข
รู้และเข้าใจในสิ่งที่สอน (Know and understand what I teach)
ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ (Help my students learn)
ให้ชุมชนมีส่วนร่วม (Engage the community)
เป็นครูที่ดีขึ้นในทุกวัน (Become a better teacher everyday)
สมรรถนะหลัก
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน
การบริการที่ดี
การพัฒนาตนเอง
การทำงานเป็นทีม
จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู
สมรรถนะประจำสายงาน
การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาผู้เรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียน
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
ภาวะผู้นำครู
การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
สมรรถนะของครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21 ที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
ทักษะสำคัญที่เรียกว่า C-Teacher
Content
: ผู้สอนต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องที่สอนเป็นอย่างดี
Computer (ICT) Integration
: ผู้สอนต้องมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการเรียนการสอน
Constructionist
: ผู้สอนต้องเข้าใจแนวคิดที่ว่าผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ขึ้นได้เ องจากการเชื่อมโยงความรู้เดิมที่มีอยู่เข้ากับความรู้และประสบการณ์ใหม่ ๆ ที่ได้รับ และได้จากการลงมือปฏิบัติในกิจกรรมต่าง ๆ
Connectivity
: ผู้สอนต้องสามารถจัดกิจกรรมให้เชื่อมโยงระหว่างผู้เรียนด้วยกันระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและระหว่างผู้สอนในสถานศึกษาเดียวกัน
Communication
: ผู้สอนมีทักษะการสื่อสาร ทั้งการบรรยาย การยกตัวอย่าง การเลือกใช้สื่อ การนำเสนอสื่อ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้
Creativity
: ผู้สอนในศตวรรษที่ 21 จำเป็นต้องสร้างสรรค์กิจกรรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย
Caring
: ผู้สอนต้องมีมุทิตาจิตต่อผู้เรียน ต้องแสดงออกถึงความรัก ความห่วงใยอย่างจริงใจต่อผู้เรียน
การจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล แนวทางการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World- Class Standard School) และการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล(World – Class Standard)
การปรับเปลี่ยนหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มศักยภาพการจัดการศึกษาไทยให้พร้อมสำหรับการแข่งขันในเวทีโลกในยุคศตวรรษที่ 21
โรงเรียนต้องเป็นหน่วยบริการทางการศึกษาในมิติที่กว้างขึ้น
หลักสูตรการเรียนการสอนต้องมีความเป็นสากลมากขึ้น
ต้องมีการพัฒนาทักษะการคิดมากขึ้น
ต้องมีการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมมากขึ้น
การสอนภาษาต่างประเทศต้องมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3.1 ลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล
โรงเรียนมาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่มีการพัฒนาหลักสูตรการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพที่มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก มีทักษะความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3.2 การดำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล
เพื่อยกระดับการจัดการเรียนการสอนให้เทียบเคียงมาตรฐานสากลหรือมาตรฐานของประเทศชั้นนำที่มีคุณภาพการศึกษาสูง
2.เพื่อยกระดับการบริหารจัดการของโรงเรียนให้มีการบริหารด้วยระบบคุณภาพตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award : TQA) ดังนั้นเพื่อให้การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพของโรงเรียนเกิดการพัฒนา จึงกำหนดให้มีการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพเป็น 3 ระดับ คือ
ระดับที่ 1
การบริหารจัดการระบบคุณภาพ ระดับโรงเรียน (School Quality Award : SCQA
ระดับที่ 2
การบริหารจัดการระบบคุณภาพระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Office of the Basic Education Commission Quality Award : OBECQA)
ระดับที่ 3
การบริหารจัดการระบบคุณภาพ ระดับชาติ (Thailand Quality Award : TQA)
เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก โดยเน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ สื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์และร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
3.3 ความสำเร็จของการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล
เป้าหมายความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียนเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานด้านผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล มี 5 เป้าหมาย แต่ละเป้าหมายจะมีตัวชี้วัดความสำเร็จที่แตกต่างกันไปในแต่ละปีการศึกษาโรงเรียนหรือผู้ดำเนินการอาจพิจารณาปรับ ลด เพิ่ม ตัวชี้วัดให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพการณ์ต่าง ๆ ของปีนั้น ๆ
3.4 โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)
โรงเรียนมาตรฐานสากล (World - Class Standard School) คือโรงเรียนที่เกิดขึ้นจากนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์)ที่ต้องการยกระดับโรงเรียนชั้นนำจำนวน 500 แห่งทั่วประเทศ ที่มีความพร้อมอยู่แล้วให้เป็นโรงเรียนดีมีมาตรฐานสากล ซึ่งนั่นเป็นโจทย์สำคัญที่จะต้องตอบให้ได้ว่าจะทำอย่างไรเพื่อให้โรงเรียนที่มีความพร้อมเหล่านั้นได้รับการพัฒนาและยกระดับสู่การเป็น"โรงเรียนมาตรฐานสากล" สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (นพฐ.) โดยสำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงได้เร่งสนองนโยบายดังกล่าว โดยการศึกษา สังเคราะห์เอกสารจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นจากโรงเรียนและประสานงานกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแนวทางการดำเนินงานโรงเรียนให้เป็นไปตามเป้าประสงค์
แนวทางการพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก (World Citizen)
ตัวอย่างโรงเรียนที่ทำการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้หลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลเป็นฐาน "ศรีสุริโยทัยโมเดล" ต้นแบบโรงเรียนอาเซียน โดย...ชลธิชา ภัทรสิริวรกุลการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่กำลังใกล้เข้ามาทุกทีทำให้บรรดาสถาบันการศึกษาต่างตื่นตัวเตรียมความพร้อมเข้าสู่ช่วงโค้งสุดท้าย หนึ่งในนั้นมี“โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย” ที่ปรับตัวสำเร็จจนกลายเป็นโรงเรียนอาเซียนต้นแบบของไทย
นางสาวณิชกานต์ แดงจันทร์ 60202909