Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับรู้ทางทัศนะ (Visual Literacy), (การับรู้ทางทัศนะ ก็คือการแปลความหมาย…
การรับรู้ทางทัศนะ (Visual Literacy)
เน้นว่าควรมีการศึกษาภาคบังคับ
สอดคล้องกับการสร้างเนื้อหาของเอกสาร ตำรา การใช้คำศัพท์
การจัดทำตำราก็ดูระดับของผู้อ่าน สาระของเนื้อหา รวมทั้งการใช้คำศัพท์เฉพาะที่เป็นคำศัพท์เทคนิค ซึ่งการจัดการเรียนการสอนก็เน้นความสามารถทางภาษา
เน้นเรื่องของความสามารถพื้นฐานในการใช้ภาษา
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้อ่านออกเขียนได้ ซึ่งหมายถึง Literacy
ในปัจจุบัน
การนำเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้จึงเกิดมีคำว่า การรับรู้ทางทัศนะ
โดยเฉพาะการนำเสนอในรูปของทัศนะสาร ( Visual Aids )
ความสามารถในการอ่านความหมายจากสิ่งที่ผ่านการมอง
รูปแบบการเรียนรู้จากสัญลักษณ์อื่นๆ
สัญลักษณ์มาใช้แทนตัวอักษร ภาษา คำพูด
การเรียนรู้ไม่ได้เกิดขึ้นจากการใช้ภาษาที่เป็นภาษาเขีย
โดยนำทัศนะสารผ่านตัวกลางที่สามารถนำเสนอ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อดิจิทัล
Visual Literacy ว่าเป็นความสามารถในการเรียนรู้เพื่อสื่อความหมายของภาพหรือสิ่งที่มองเห็นนั้นได้อย่างถูกต้อง
ความหมายของคำว่า Visual Literacy
การเรียนการสอนเป็นสิ่งที่วงการนักเทคโนโลยี
ตีความหมาย ถึงการเรียนรู้ โดยใช้ประสารทสัมผัสทางตา รับรู้ สิ่งต่างๆ
เรียกว่า Visual Literacy
แนวคิดในการนำการรับรู้ทางทัศนะ
เกิดเป็น “ภาพ” ของสิ่งที่มองดู
การับรู้ทางทัศนะ ก็คือการแปลความหมายของ “ภาพ” หรือสิ่งที่มองเห็น
ความสามารถในการรู้จักสร้างสรรค์ เนื้อความ หรือเขียนอธิบายความหมาย
อ่านและเขียน หรือการใช้สื่อพิมพ์นั้น ไม่ได้จำกัดแต่การใช้ หนังสือ เพื่อให้ผู้เรียนอ่านออกเขียนได้
ภาษาที่เรียกกันว่า Literacy นั่นเอง