Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการระเบียบวินัยในโรงเรียน, นายหัฟพี อาแซ เลขที่ ๑๑ กลุ่มที่ ๖ …
การจัดการระเบียบวินัยในโรงเรียน
๑.วัตถุประสงค์
แนะนำคำและประเด็นที่เกี่ยวกับปัญหาทางด้านระเบียบวินัยในระดับชั้นเรียนและโรงเรียน
พิจารณาให้ถี่ถ้วนถึงวิธีการที่โรงเรียนใช้กำหนดระบบจัดการระเบียบวินัยของโรงเรียน
แนะนำเทคนิคในการสร้างระบบจัดการระเบียบวินัยในชั้นเรียนให้แก่ครู
๑๙.ข้อแนะนำสำหรับครูมือใหม่
ครูจะต้องใช้ความนิ่งเข้าสงบ
ครูไม่แสดงอาการโกรธกระฟัดกระเฟียดออกมาในชั้นเรียน
ใช้วิธีนับ ๑-๑๐ ในใจก่อนลงมือทำอะไรลงไป
อย่าปล่อยให้ตัวครูตกอยู่ในสถานการณ์ที่แพ้
ครูมีความยืดหยุ่นในการสอน
อย่าเข้าไปพัวพันเรื่องส่วนตัวของผู้เรียน
เรียนรู้จากครูท่านอื่นๆ ที่มีประสบการณ์ในโรงเรียน
ครูต้องจริงใจและยุติธรรมต่อผู้เรียน
๗.ปัญหาด้านระเบียบวินัยที่พบในโรงเรียนในปัจจุบันนี้
สิงคโปร์-ปัญหาระเบียบวินัย
การมาโรงเรียนสาย
การเล่นพนันในอาคารโรงเรียน
การแสดงอาการต่อต้านในชั้นโรงเรียน
การใช้ภาษาที่หยาบคาย/สบถ
การประพฤติตนไม่สุภาพกับครู
การออกมาเดินบริเวณระเบียง
การทิ้งขยะเกลื่อนกลาด
การวิ่งเล่นบริเวณระเบียง
การตะโกนโหวกเหวก
การขาดเรียนโดยไม่มีสาเหตุ
การรังแกเพื่อน
การทำลายทรัพย์สินส่วนรวม
การเข้าร่วมเป็นสมาชิกแก๊งอันธพาล
การต่อสู้และก่อความไม่สงบนอกโรงเรียน
การไม่ทำงาน
ไม่นำหนังสือเรียนมา
ไม่ตั้งใจเรียน
ความผิดทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT)
๒.บทนำ
โรงเรียนทุกโรงต้องมีระเบียบวินัย
มีบทบาทสำคัญต่อกระบวนการศึกษาของผู้เรียน
ในความเป็นครู
เป็นปัจจัยในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิผลมากขึ้น
นักเรียนเป็นบุคคลที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
๓.การระบุปัญหาด้านระเบียบวินัย
เมื่อผู้เรียนฝ่าฝืนกฎระเบียบของโรงเรียน
ก่อให้เกิดความวุ่นวายขึ้นภายในโรงเรียน
ความหมายกว้างๆ-การฝึกอบรมที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนตลอดจนจำกัดผลลัพธ์ทั้งในเชิงบวกและเชิงลบที่จะเกิดตามมา
วัตถุประสงค์การสร้าระเบียบวินัยในชั้นเรียน-เพื่อให้ผู้เรียน
มีความรับผิดชอบ
มีความเชื่อมั่นและเติบโตขึ้นเป็นบุคคลที่มีความคิด
ใส่ใจต่อผู้อื่น
ใช้ชีวิตอย่างคุ้มค่าและมีประโยขน์ได้
บรรยากาศในชั้นเรียนถูกรบกวน
๒๐.บทสรุป
ครูลงโทษผู้เรียน
ใช้วิธีที่มีความหมาย
เหมาะสมกับความผิด
ครู
ความเอาใจใส่เป็นที่ตั้ง
จะต้องใช้ความรัก
๖.พฤติกรรมจะกลายเป็นปัญหาด้านระเบียบวินัยเมื่อใด
ปัญหาในครอบครัว
ปัญหาทางสังคม
ปัญหาทางด้านระเบียบวินัย
ออกนอกห้องโดยไม่ขออนุญาต
การนำอาหารเข้าห้องเรียน
รบกวนกการเรียนการสอน
ปัญหาการใช้และรับส่งโทรศัพท์มือถือ
๔.พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในระดับชั้นเรียน
การก่อกวนการเรียนการสอน
การไม่ตั้งใจฟัง
การลืมนำหนังสือมาเรียน
การไม่ทำงาน
การใช้คำหยาบคายในชั้นเรียน
ในห้องเรียน
เกิดความเบื่อหน่าย
ไม่สามารถทำความเข้าใจกับเนื้อหาของบทเรียน
เรียกร้องความสนใจ
ช่วนเพื่อนร่วมชั้นคุยในระหว่างเรียนอยู่
ระดับมัธยม
โต้เถียงกับครู
ครูใช้กฏระเบียบของโรงเรียนมาจัดการ
ชวนเพื่อนให้คุยในเวลาเรียน-ทำงาน
ชี้แจงว่าต้องส่งท้ายคาบ
ใช้ภาษาหยาบคายและการสบถ
นักเรียนชายโอ้อวดต่อหน้าผู้หญิง
ความเป็นวัยรุ่น
๕.พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในระดับโรงเรียน
เกิดนอกชั้นเรียน
ผู้ที่จะจัดการได้คือ
หัวหน้าครู
อาจารย์ใหญ่
หน่วยงานภายนอก(ตำรวจ)
ไม่ตรงต่อเวลา
ใช้ยาเสพติด
ทำลายทรัพย์สมบัติส่วนร่วม
ลักขโมย
ประพฤติผิดทางเพศ
การใช้ความรุนแรง
๙.สัญญาณของการเกิดปํญหาด้านระเบียบวินัย
ผู้เรียนเปลี่ยนพฤติกรรมและเจตคติโดยฉับพลัน
การขัดขืน
การโกหก
การสบถ
ความก้าวร้าว
การต่อต้านครู
การไม่เคารพกฎระเบียบของโรงเรียน
ปัญหาครอบครัว
เป็นคนเงียบขรึม
ขี้อาย
ไม่ยอมพูดจากับใคร
ปัญหาขาดความสามารถในการเรียนรู้
หยาบคาย
พยายามเบี่ยงเบนความสนใจไม่ให้ผู้อื่นรู้ความจริง
๘.สาเหตูของปัญหาด้านระเบียบวินัย
สาเหตุเกี่ยวกับครอบครัว
ผู้เรียนขาดความสัมพันธ์กับคนในครอบครัว
สาเหตุเกี่ยวกับสังคม
การปรับตัวเข้ากับโรงเรียน
สาเหตุเกี่ยวกับโรงเรียน
ใช้กฎระเบียบที่บีบบังคับ
สาเหตุเกี่ยวกับการเรียนรู้
นักเรียนไม่สามารถตามบทเรียนทัน
สาเหตุเกี่ยวกับครู
ไม่วางแผนการสอน-ไม่เตรียมสื่อการสอน
๑๐.การจัดการปัญหาด้านระเบียบวินัยในระดับชั้นเรียน
อาจขยายไปสู่การก่ออาชญากรรม
การก่อความรุนแรงนอกโรงเรียน
การลักขโมยสิ่งของที่มีราคาแพง
การแสดงกิริยาหยาบคายต่อครูหรือเพือนร่วมชั้น
การขาดเรียนหรือไม่ตรงต่อเวลา
๑๓.คณะกรรมการสอดส่องดูแลและให้คำแนะนำ
ประสานงานร่วมกับคณะกรรมการดูแลระเบียบวินัย
ให้คำปรึกษาแก้ผู้เรียนที่ประสบปํญหา
๑๗.แรงกดดันจากคนรอบข้าง
อาจทำให้เด็กไม่อยากมาโรงเรียน
ผู้เรียนไม่อยากเข้ากลุ่มตามที่ครูจัด-อยากจัดกลุ่มเอง
เด็กจะมีพฤติกรรม
ก้าวร้าว
มองครูเป็นที่มาแห่งความยุ่งยาก
๑๕.โปรแกรมจัดการความขัดแย้ง (CMP)
โรงเรียนประถมนำมาใช้ฝึกอบรมผู้เรียนให้เป็นผู้จัดการความขัดแย้ง
ช่วยเหลือในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างเพื่อนผู้เรียนด้วยกัน
๑๑.การจัดการปัญหาด้านระเบียบวินัยในระดับโรงเรียน
โรงเรียนคิดค้นโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรม ความรับผิดชอบ ทักษะการแก้ปัญหาและการสร้างระเบียบวินัยในตนเอง
โรงเรียนจัดตั้งคณะกรรมการดูแลระเบียบวินัยภายในโครงสร้าง
วางแผน
พัฒนาโครงสร้างการจัดการ
นำมาใช้ในการจัดการ
สอดส่องดูแลและทบทวน
๑๖.อุปสรรค์ในการจัดการปัญหาด้านระเบียบวินัย
ความยากลำบากในการขอความร่วมมือจากผู้ปกครอง
ผู้ปกครองไม่สนว่าเด็กจะถูกทำโทษที่โรงเรียนหรือไม่
๑๔.ระบบหัวหน้าผู้เรียน
หัวหน้าผู้เรียน-ครูที่ปรึกษา(บัดดี้)
คณะกรรมการผู้เรียน-ครู(รายงานผลให้ผู้ปกครอง)
๑๒.การรับมือกับปัญหาด้ารระเบียบวินัย
ระดับประถม
โปรแกรมCMPแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
ระดับมัธยม
โปรแกรมวัดผลจากเพื่อนร่วมชั้นเรียน
๑๘.การก่อความไม่สงบในชั้นเรียนอย่างไม่คาดคิด
นักเรียนคนเดียว
ทั้งชั้นเรียนปั่นป่วน
ครู
ใช้มาตรการที่มีประสิทธิภาพเพื่อหยุดความวุ่นวาย
๒๑.ข้อคิด
การป้องกันการเกิดปัญหาด้านระเบียบวินัย
ดีกว่าการแก้ไขปัญหาเกิดขึ้นแล้วในฐานะครู
พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมซึ่งกลายมาเป็นนิสัยนั้นเปลี่ยนแปลงได้ยาก
นายหัฟพี อาแซ เลขที่ ๑๑ กลุ่มที่ ๖
รหัส ๖๒๒๐๑๖๐๔๓๕