Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
(Pregnancy-induced hypertension) :warning:
ความหมาย :fire:
ภาวะที่มี systolic blood pressure (SBP) ≥ 140 mmHg หรือ diastolic blood
pressure (DBP) ≥ 90 mmHg และมีโปรตีนรั่วในปัสสาวะ หรือ proteinuria
ประเภท :red_flag:
- ภาวะความดันโลหิตสูงที่จำเพาะกับการตั้งครรภ์ ร่วมกับมีความผิดปกติของร่างกายในหลายระบบ โดยทั่วไปมักเกิดหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ร่วมกับตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ
- หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ไม่ว่าจากสาเหตุใดใดก็ตาม หรือตรวจพบความดันโลหิตสูงก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
- Chronic hypertension with superimposed preeclampsia
- เกิดในหญิงตั้งครรภ์ที่เป็น Chronic hypertension
- ภาวะความดันโลหิตสูงที่จำเพาะกับการตั้งครรภ์ ที่ตรวจพบหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ แต่ไม่พบ Proteinuria และความดันโลหิตมักกลับสู่ระดับปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
การพยาบาล :<3:
ระยะคลอด
- การพักผ่อน (bed rest) โดยนอนพักบนเตียงให้มากที่สุด โดยเฉพาะท่านอตะแคงซ้าย
- จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ และลดการกระตุ้นผู้ป่วยทั้งจากแสง เสียง สัมผัส
(Reduce sensory stimulation)
- วัดความดันโลหิต และ Deep tendon reflex ทุก 1-2 ชั่วโมงหรือตามความรุนแรงของอาการ
- ประเมิน Headache, visual disturbance, epigastric pain
- ตรวจ Urine protein และเก็บ Urine Protein 24 ชั่วโมง
- ดูแลให้ได้รับยาป้องกันภาวะชักคือ Magnesium sulfate ตามแนวทางการรักษา
- ดูแลให้ได้รับยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษาได้แก่ Nifedepine, Labetalol, Hydralazine
- ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้ กรณีให้ยาแมกนีเซียมซัลเฟต
- ติดตามระดับแมกนีเซียมในเลือด ให้อยู่ในระดับของการรักษา (therapeutic level)
- เตรียมและให้ยาแคลเซียมกลูโคเนททางหลอดเลือดดำ กรณีผู้ป่วยมีอาการแสดงของการเป็นพิษจากยาแมกนีเซียมซัลเฟต
- ประเมินและให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะของโรค แนวทางการดูแลรักษา อาการผิดปกติ และการปฏิบัติตัวในการดูแลตนเองและทารกในครรภ์
- ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด และให้ข้อมูลความก้าวหน้าของการคลอดแก่ผู้ป่วย
- ประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด และติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ รวมทั้งบันทึกผลการตรวจติดตาม
- เตรียมผู้ป่วยเพื่อการคลอดตามความเหมาะสม และช่วยแพทย์ในการทำสูติศาสตร์หัตถการ
ระยะหลังคลอด
- ในรายไม่รู้สึกตัวให้นอนราบตะแคงหน้าส่วนในรายที่รู้สึกตัวให้นอนท่าFowler’s position
- ประเมินการการหดรัดตัวของมดลูก
- Observe Bleeding จากแผลผ่าตัดหรือจากช่องคลอด
- บันทึกสัญญาณชีพ และบันทึก I / O ถาีพบว่า RR < 14 ครั้งต่อนาที BP ≥ 160 /110 mmHg Urine
Out Put < 30 ml ใน 1 ชั่วโมง รายงานแพทย์เพื่อร่วมดูแลรักษาต่อไป
- ให้ IV Fluid ที่ผสม Mg SO4 drip ด้วยเครื่อง Infusion pump หลังให้ยาให้บันทึกสัญญาณชีพและตวงปัสสาวะทุก 1 ชม
- จัดอาหาร Low Salt และ High Protein ในรายที่สามารถรับประทานอาหารได้
- ในการให้นมบุตร ในกรณีมารดาหลังคลอดได้รับ IV Fluid ที่ผสม Mg SO4 และ BP < 150 /100 mmHg สามารถให้ทารกมาดูดนมได้และต้องดูแลอย่างใกล้ชิด และหากมารดาBP ≥ 160 /110 mmHg ควรงดดูดนมก่อนจนกว่าความดันโลหิตจะลดลง
ก่อนตั้งครรภ์
- การฝากครรภ์ครั้งแรก แนะนำให้เจาะเลือดเพื่อประเมิน Baseline CBC with platelet, BUN, Cr, AST, ALT,
uric acid และส่งตรวจปัสสาวะเพื่อประเมิน Baseline urine protein 24 hr
- การพิจารณาเลือก Anti-hypertensive agents จะพิจารณาให้ในรายที่วัดความดันโลหิต
ที่ รพ.ได้ ≥ 140/90mmHg
- เฝ้าระวังการเกิดภาวะ Superimposed preeclampsia และการเกิด
Preeclampsia with severe feature
โดยมีข้อแนะนำให้วัดความดันโลหิตที่บ้านทุกวัน หากความดันโลหิตสูงเกินเกณฑ์
ที่กำหนดไว้ ให้รีบมาพบแพทย์ทันที
- พิจารณาให้ Low dose aspirin คือ Aspirin(81) 1x1 oral pc ตั้งแต่ GA 12-36 wks
ในรายที่มีความเสี่ยงต่อ
การเกิด Preeclampsia with severe feature
- กรณี Chronic HT ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารกในครรภ์ ไม่แนะนำให้คลอดก่อนอายุครรภ์ 38สัปดาห์
ขณะตั้งครรภ์
- ตรวจร่างกายของหญิงตั้งครรภ์ เช่น มีการบวมตามร่างกาย การตรวจวัดค่าความดันโลหิต การตรวจปัสสาวะ ทุกครั้งที่มาตรวจครรภ์ตามนัด เพื่อหาความผิดปกติที่อาจเกิดได้ขณะตั้งครรภ์
- แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวและการป้องกันไม่ให้มีความดันโลหิตสูงเพิ่มมากขึ้น เช่น
การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ควรงดอาหารหมักดอง และอาหารที่มีรสชาติเค็ม ดื่มน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพื่อช่วยในการควบคุมค่าความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ที่ปกติ
- แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์พักผ่อนอย่างเพียงพอ 8-10 ชั่วโมง และหลีกเลี่ยงความเครียด เพื่อป้องกันความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น
- แนะนำหากหญิงตั้งครรภ์มียาที่ต้องรับประทานเพื่อควบคุมค่าความดันโลหิต ควรรับประทานให้ครบถ้วนและต่อเนื่องตามแผนการรักษา ไม่ควรซื้อยามารับประทานเองและไม่ควรหยุดยาเอง
- แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์นับลูกดิ้นอย่างถูกวิธี เพื่อสังเกตอาการผิดปกติของทารกในครรภ์
- แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์สังเกตอาการของความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง เช่น การมีภาวะบวมน้ำ มีอาการปวดศีรษะมาก หน้ามืด มีตาพร่ามัว เจ็บแน่นบริเวณลิ้นปี่ ควรมาพบแพทย์ทันที
ผลต่อมารดาและทารก :!!:
ผลต่อมารดา
- รกเสื่อม
- คลอดก่อนกำหนด
- รกลอกตัวก่อนกำหนด
- ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
- ทารกที่คลอดมาอาจมีภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อทารก
- อันตรายจากภาวะชัก / เสียชีวิต
- ภาวะหัวใจทำงานล้มเหลว
- เสียเลือด และช็อคจากรกลอกตัวก่อนกำหนด / ตกเลือดหลังคลอด
- เกิดภาวะ HELLP syndrom
- ภาวะไตวายเฉียบพลัน
- การกลับเป็นความดันโลหิตซ้ำอีก
-
-