Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.3 มีภาวะเจ็บป่ วยและการใช้ยาอย่างสมเหตผล - Coggle Diagram
3.3 มีภาวะเจ็บป่ วยและการใช้ยาอย่างสมเหตผล
กล่มอาการต่อมธัยรอยด์ (Thyroid Disease)
ภาวะธัยรอยด์เป็ นพิษ เก ิ ดจากฮอร ์โมน Thyroid Stimulating Hormone (TSH)และ Human Chroionic Gonadotropin (HCG) กระตุ้นต ่ อมธย ั รอยดใ์ ห ้ ทา งานมากผ ิ ดปกต ิ หร ื อร ่ างกายม ีการสร้าง ภ ู ม ิ ค ุ ม ้ กน ั ต ่ อเน ้ื อเย ื ่ อของตว ั เอง ต ่ อมธย ั รอยดจ ์ ะม ี การสร ้ างฮอร ์โมนเพ ิ ่ มมากข ้ึ น ทา ให ้ ตอมธัยรอยด์ ่ มี ขนาดใหญ ่ ข ้ึ นเร ื ่ อยๆ ทา ให ้ กดหลอดลมหร ื อหลอดอาหาร ส ่ งผลให ้ เก ิ ด ภาวะหายใจล าบาก กลืนล าบาก
อาการและอาการแสดง
ต่อมธัยรอยด์โตมากกวาปกติ ่ 3-4 เท่ า
2กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลีบ และสั่ น
นํ้ าหนักไม่เพิ่ มขึ้น แม้วาทานอาหารเท ่ ่ าเดิมหรือเพิ่ มขึ้น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
ผิวหนังละเอียด อุ่น ชื้น แดง เส้นผมละเอียด นุ่มบาง
ขี้ร้อน หงุดหงิด ตกใจง่าย อารมณ์แปรปรวน
อัตราการเต้นของหัวใจเร็วมากกวาปกติ อาจเร็วถึง ่ 100-160 ครั้งต่อนาที ความดันชีพจรกว้างอาจมากกวา ่ 40 มิลลิเมตรปรอท
อัตราการเต้นของชีพจรขณะหลับ (sleepy pulse) สูงมากกวา ่ 80 ครั้งต่อนาที
ตาโปน (exophthalmos)
ภาวะไทรอยด์วิกฤต เป็ นภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมซึ่งมีผลต่อ อัตราการตายของมารดาและทารก ส่วนใหญ่จะเกิดตามหลังภาวะ เครียด การติดเชื้อ การคลอด การผาตัดคลอด อาการคือ มีไข้สู ่ งเกิน 38.5 องศาเซลเซียส มีอาการผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่ ซึม สับสนหรือไม่รู้สึกตัว อาการทางระบบทางเดินอาหาร คือ ถ่ายอุจจาระเหลวตลอดเวลา และมีหัวใจเต้นเร็วผิดปกติจนหัวใจ ล้มเหลวได
ธัยรอยด์ยังมีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและมีผลต่ อการเผาผลาญของ เนื ้อเยื่อเกือบทุกชนิด ดังน
เพิ่ มการเผาผลาญของคาร์โบไฮเดรต การดูดซึมอาหารจากกระเพาะอาหารและลําไส้ การใช้นํ้ าตาลสลาย ไกลโคเจน การหลังอินซูลิน ทําให้รับประทานอาหารมากขึ ่ ้น
เพิ่ มการเผาผลาญไขมัน ทําให้โคเลสเตอร์รอลฟอสโฟลิปิ ด และ ไตรกลีเซอไรด์ลดลง แต่มีกรด ไขมันอิสระเพิ่ มขึ้น
เพิ่ มการเผาผลาญของโปรตีน ช่วยให้กล้ามเนื้อทํางานได้ดี แต่ถ้าฮอร์โมนสูงมากจะมีการสลาย โปรตีนมากเกิดกล้ามเนื้อลีบ อ่อนแรง และมีอาการสั่ นของกล้ามเนื้อ (Iremor)
เพิ่ มการเผาผลาญของวิตามิน มีการนําไปใช้ได้มากขึ้น
การหลังนํ ่ ้ ายอยมากขึ ่ ้น กระเพาะอาหารและลําไส้เคลื่อนไหวมากขึ้น อาจมีอาการท้องเสียได้
เพิ่ มการเผาผลาญของกล้ามเนื้อหัวใจ มีการใช้ออกซิเจนมากขึ้น โดยเฉพาะในช่วงเดือนที่ 4-8 ของ การตั้ งครรภ์ ทารกในครรภ์ใช้ออกซิเจนมากต่อมธัยรอยด์ทํางานมากขึ้น หลอดเลือดขยายตัวต้อง บีบเลือดไปเลี้ยงส่วนต่ าง ๆ ของร่างกายมาก หัวใจเต้นเร็ว
ระบบประสาทตื่นตัวหลับยาก โมโหง่าย กระวนกระวาย
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา ยาที่ใช้กนแพร ั ่หลายมี 2 ตัว คือ methimazole และ propylthiour acil (PTU) ในขณะตั้ งครรภ์ควรใช้ PTU เพราะเป็ นยาที่ผานรกได้น้อยกว ่ าและไม ่ ่ มี teratogenic effect โดยเริ่มให้วันละ300-450 ml.ก่ อนแล้วค่อย ๆ เพิ่ มยาเพื่อให้ ผู้ป่ วยอยูในภาวะ ่ cuthyroid หรือระดับของ T ลดลง
รักษาโดยการผาตัด โดยทั ่ วไปการผ ่ าตัดจะกระทําได้ต ่ ่อเมื่อผู้ป่วยอยูในภาวะ ่ cuthyroid ดังนั้นถ้าสามารถควบคุมโรคได้ควรจะชะลอการผาตัดไว้ทําหลั ่ ง คลอดพราะการผาตัดมีปัญหาที่ต้องคํานึงถึงหลายประการ
การรักษาโดย radioactive iodine เป็ นข้อห้ามสําหรับหญิงตั้ งครรภ์และระยะให้ นมบุตร
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
1.อธิบายให้สตรีตั้ งครรภ์ทราบเกี่ ยวกบโรค ั 2.แนะนําให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
3.ระมัดระวังการเปลี่ยนอิริยาบถเพราะเหนื่อยได้ง่ าย 4.แนะนํานับลูกดิ้ น เพื่อประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์
5.แนะนําทานน้อยแต่บ่อยครั้ง 5-6มือ/วัน ดื่มนํ้ ามาก ๆ หลีกเลี่ยง ชา กาแฟ แอลกอฮอล์
ระยะคลอด
จัดท่ านอนศีรษะสูง (fowler's position)2.V/S ทุก 1-2 hr. ถ้า PR > 100/min RR > 24/min pulse pressure กว้างกวา ่ 40 mmHg ให้สงสัยภาวะหัวใจล้มเหลว รีบรายงานแพทย์ 3.ให้ผู้คลอดออกแรงเบ่ งน้อยที่สุด เพราะการเบ่ งจะทําให้หัวใจ ทํางานมากขึ้น แพทย์มักใช้สูติหัตถการช่วยคลอด 4.ฟัง FHS ทุก 15-30 min และฟัง FHS ทุก 5 min ของการคลอด
ระยะหลังคลอด
1.นอนพักบนเตียง ในท่ า semi-foeler's position 2.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก 3.กรณีมารดาทาน PTU < 150 mg สามารถให้นมบุตรได้ 4.ติดตามภาวะการทํางานของต่อมธัยรอยด์ของทารก
โรคหอบหืด
(Asthma)
เป็ นโรคที่มีอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ทําให้หลอดลมของผู้ป่ วยมีความไวต่อสิ่ง กระตุ้นต่ าง ๆ แล้วทําให้เกิดอาการตีบแคบของหลอดลม เช่น แน่นหน้าอก ไอ หายใจมีเสียงวี้ดๆ หายใจลําบาก มีการบวมของเยือบุหลอดลม รวมทั ้ ้ งมีเสมหะ มากในหลอดลม
สาเหตุ
เกิดได้จากหลายสาเหตุ มีสาเหตุสําคัญ 3 อยาง คือ กรรมพันธุ์ โรคภูมิแพ้ใ ่ นตัวผู้ป่ วยเอง และสิ่ งแวดล้อม ซึ่งกรรมพันธุ์เข้ามามีส่วนเก ี่ยวข้องถึงร้อยละ 50-60 มีโรคภูมิแพ้อื่นๆ รวมทั้ งการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เป็ นต้น
อาการและอาการแสดง
แบ่ งระดับความ รุนแรงของโรคออกเป็ น 4ระดับ
1.ระดับมีอาการเป็ นครั้งคราว
3.ระดับมีอาการรุนแรงปานกลาง
4.ระดับเมื่ออาการรุนแรงมาก
2.ระดับอาการรุนแรงน้อย
การพยาบาล
1.กรณีเป็ นน้อย
1.1 ซักถามประวัติบุคคลในครอบครัวเกี่ ยวกบโรคหอบหืด ั 1.2ถ้าพบวาหญิงตั ่ ้ งครรภ์มีประวัติโรคหอบหืด ควรส่งต่อแพทย์ 1.3อธิบายพยาธิสภาพของโรค แนวทางการรักษา และคําแนะนําในการปฏิบัติตน 1.4 ประเมินนํ้ าหนักของหญิงตั้ งครรภ์ระหวางสัปดาห์ และนํ ่ ้ าหนักที่เพิ่ มขึ้นตลอดการตั้ งครรภ์ 1.5 ติตตามผลการตรวจพิเศษ
กรณีที่มีอาการมาก
2.1 ดูแลให้ได้รับยาทางหลอดเลือดดํา ทางปาก ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง หรือสูดดมตามเผนการรักษา 2.2จัดท่ านอนศีรษะสูง หรือฟุบบน โต๊ะคร่อมเตียง และให้ออกซิเจน 2.3รักษาทางเดินหายใจให้โล่ ง โดยการดูดเสมหะอยางมีประสิทธิภาพ ่ 2.4จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่ วยสามารถพักได้ ให้กาลังใจให้ผู้ป่ วยคลายควา ํ มวิตกกงวล ั 2.5 พยายามไม่ให้ผู้ป่ วยต้องออกแรงและเหนื่อยเกินไป 2.6 ประเมินลักษณะ และอัตราการหายใจ ชีพจร สังเกตุสีเล็บ และผิวหนัง 2.7 สังเกตุการหดรัดตัวของมดลูก และประเมินสภาวะของทารกในครรภ์ 2.8เตรียมอุปกรณ์ช่วยชีวิตให้พร้อมกรณีผู้ป่ วยเกิดภาวะการหายใจล้มเหลว 2.9 ประเมินอาการของการติดเชื้อ ภาวะหัวใจล้มเหลว และ โรคแทรกซ้อนอื่น ๆ 2.10ขณะที่ผู้ป่ วยหอบ ควรสอนให้ทายใจออกโดยเป่ าลมออกทางปากช้า ๆ และให้กาํลังใจ 2.11 ประเมินภาวะความไม่สมดุลของ Electrolyte และความเป็ นกรดด่ าง 2.12 ดูแลไม่ให้ผู้ป่ วยหนาวหรือร้อนเกินไป
การรักษา
การรักษาโรคหอบหืดจําแนก ได้เป็ น 3 แนวทางหลักๆ ดังนี้คือ การรักษาโรคหอบหืดในระยะ เฉียบพลันการรักษาโรคหอบหืดในระยะเรื้อรัง และการป้องกนโรคหอบหืด ซึ่งในแต ั ่ละแนวทาง มีขั้ นตอนและรายละเอียดในการใช้ยาและการดูแลผู้ป่ วยแตกต่ างกนไป
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะปอดแฟบ การติดเชื้อของปอดและหลอดลม ภาวะถุงลมพอง ภาวะปอดทะลุ ภาวะปอดบวมนํ้ า และภาวะหัวใจล้มเหลว
ผลของโรคหอบหืดต่อการตั้งครรภ
เสี่ยงเพิ่ มขึ้นต่อภาวะแท้ง อาเจียนมาก ความดันโลหิตสูง คลอดก่ อนกาหนด นํ ํ ้ าหนักตํ่ากวา่ เกณฑ์หรือทารกโตช้าในครรภ์ และการตายปริกาเนิด
วัณโรค
(Terberculosis)
เกิดจากเชื้อ acid-fast bacillus Micro-bacterium tuberculosis ติดต่อได้ ผานทางเดินหายใจ และสามารถติดต ่ ่อไปยังทารกในครรภ์ได้ ทางกระแสเลือด ผานทางรกหรือการกลืนนํ ่ ้ าครํ่าที่มีเชื้อ พบได้น้อย อาการและอาการแสดง ไอมีเสมหะ ไอเป็ นเลือด นํ้ าหนักลด อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ครั่ นเนื้อครั่ นตัว เหงื่อออกตอนกลางคืน
การวินิจฉัย
1.ได้จากอาการและอาการแสดง 2.การทํา Chest X-ray เพื่อหารอยโรคที่ปอด 3.การนําเสมหะไปเพาะเชื้อ ซึ่งใช้เวลาอาจถึง 4-8 สัปดาห์
ผลของวัณโรคต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
1.อาการรุนแรง ร่างกายทรุดโทรม และไม่มีการตกไข่ 2.การแท้ง 3.คลอดก่ อนกาหนด
ผลต่อทารก
1.ทารกตายในครรภ์ เกิดไร้ชีพ หรือตายเมื่อแรกเกิด 2.คลอดก่ อนกาหนด อาจมีปัญหาทางระบบหายใจ ํ 3.แรกเกิดนํ้ าหนักตัวน้อย 4.Apgar score ตํ่า 5.ทารกติดเชื้อวัณโรคตั้ งแต่แรกเกิด
การรักษา
INH (Isoniazid) เป็ นยาที่ปลอดภัยที่สุดสําหรับสตรีตั้ งครรภ์ ทารกจะมีความเสี่ยง คือ เป็ นพิษต่อระบบประสาท กาจัดความเสี่ยงได้ โดยให้ ํ vitamin B6 แก่ มารดา - Rifampin ผลต่อมารดาคือ ตับอักเสบ อาจเกิดความพิการของแขนขาทารกในครรภ์ - Ethambutal ปลอดภัยกวา ่ Rifampin มารดาอาจเกิดเส้นประสาทตาอักเสบ -Streptomycin ควรหลีกเลี่ยงในสตรีตั้ งครรภ์ เพราะเป็ นพิษต่อไต และทําลายเส้นประสาท เส้นที่ 8ของทารกอยางถาวร มีผลให้ทารกเก ่ ิดภาวะหูหนวก
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็ นวัณโรคปอด
ระยะตั้งครรภ
1.ดูแลให้ได้รับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์อยางเคร ่ ่งครัด 2.แนะนําให้พักผอนให้เพียงพอ เพื่อลดการใช้พลังงาน ่ 3.แนะนําให้รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กและโปรตีนสูง เนื่องจากมักพบอาการซีดร่วมด้วย และช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ 4.แนะนํางดเว้นสิ่ งเสพติด เช่น เหล้า บุหรี่ 5.อยูในที่สะอาด อากาศถ ่ ่ ายเทสะดวก และแยกการอยูก่ บผู้อื่นเพื่อป้องก ั นกั ารแพร่กระจายเชื้อ
ระยะคลอด
1.ดูแลให้ผู้คลอดพักผอนให้มากที่สุด หลีกเลี่ยง ่ การทําให้ร่างกายอ่อนเพลีย 2.ดูแลให้ได้รับสารนํ้ าและยาตรงตามแผนการรักษาของแพทย์ 3.ถ้าผู้คลอดได้รับยาระงับประสาทและยาระงับความเจ็บปวด ให้สังเกตุปฏิกิริยาสะท้อนกลับ ในการไอของผู้คลอด เพราะปฏิกิริยานี้จะลดลงไม่สามารถระบายเสมหะออกมาได้ 4.ประเมินเสียงหัวใจของทารก ต้องอยูระหว ่ าง ่ 110-160 ครั้งต่อนาที 5.ประเมินความกาวหน้าของการคลอด และเมื่อส ้ ่วนนําเคลื่อนตํ่า แพทย์มักช่วยคลอดโดยใช้ คีมช่วยคลอด 6.หลังรกคลอดให้คลึงมดลูก
ระยะหลังคลอด
1.ควรแยกมารดาออกจากทารก จนกระทังเชื ่ ้อจากเสมหะมารดาได้ผลลบ แต่มักยึดหลักปฏิบัติ หลังการรักษา 2 สัปดาห์ 2.ให้ INF แก่ ทารกแรกเกิดเป็ นเวลา 3 เดือน เนื่องจากพบวาร้อยละ ่ 50ของทารกจะเกิดวัณโรค ได้ภายใน 1ปี 3.สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้ ถ้าผลเพาะเชื้อเป็ นลบ 4.ดูแลมารดาหลังคลอดเหมือนมารดาปกติทัวไป ่ 5.การวางแผนครอบครัวหลังคลอด แนะนําให้คุมกาเนิด ํ 2 ปี เพื่อให้ร่างกายคืนสภาพมากที่สุด
โรคหัวใจ
(Cardiac Disease)
การจําแนกความรุนแรงของโรคหัวใจ
Class I : Uncompromised ไม่มีอาการของโรค สามารถทํากิจวัตรได้ตามปกติ Class II : Slightly compromised ไม่มีอาการโรคเมื่อพักผอน จะมีอาการเมื่อทํางานหนั ่ ก มีข้อจํากดในการออกก ั าลังกาย อาการแสดงคือเหนื่อยหอบ ใจสั ํ ่ น เจ็บหน้าอก หายใจลําบาก Class II : Markedly compromised ทํางานได้น้อยกวาเดิม ไม ่ ่มีอาการเมื่อพักผอนจะแ ่ สดง อาการเมื่อทํากิจกรรมหนัก Class IV : Severe compromised มีอาการหนัก ไม่สามารถทํางานได้เลย ถึงแม้เวลาพักผอน่ ก ็ ยังมีอาการของโรคหัวใจ
การวินิจฉัย
1การซักประวัติ 2. การตรวจร่างกาย ประกอบด้วย สัญญาณชีพเต้นเบาเร็ว ไม่สมํ่าเสมอ มีอัตรามากกวา ่ 120 ครั้งต่อนาที หรือน้อยกวา ่ 60 ครั้งต่อนาที การหายใจมากกวา ่ 24 ครั้งต่อนาที คลําที่บริเวณ ขั้ วหัวใจ (Apex) จะพบวามีการสั ่ ่ นของกล้ามเนื้อหัวใจ ฟังเสียงหัวใจมี presytolic murmur หรือ diastolic murmur หรือ continuous murmurอาจพบอาการเหนื่อยหอบ อ่อนเพลีย 3. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ -ถ่ายภาพรังสี พบวามีหัวใจโต ่ - ตรวจคลื่นหัวใจ - ตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
การรักษาในป่ วย Class III หรือ Class IV
1.พักผอนให้มากขึ ่ ้น 2.การบริหารเท้า หรือใส่ถุงน่องเพื่อประคับประคองไม่ ให้เกิดการอุดตันของเส้นเลือดที่ เกิดจากการลดการออกกาลังกาย ํ 3.อาจพิจารณาให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์
การมาตรวจตามนัดอยางสมํ่าเสมอ อาการสําคัญที่ต้องมาโรงพยาบาล ่ 2. พักผอนให้เพียงพอจําก ่ ดกั ิจกรรม 3. ควบคุมอารมณ์ไม่ให้เครียด 4. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ 5. แนะนําให้รับประทานยาตามแผนการรักษาอยางเคร ่ ่งครัด 6. สอนการนับทารกดิ้ น 7. ประเมินภาวะสุขภาพเมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์ขึ้นไป 8. Class I และ II มีเพศสัมพันธ์ได้ แต่ต้องระวังเมื่ออายุครรภ์ 20 สัปดาห์ขึ้นไป 9. การรับไว้ในโรงพยาบาล Class I รับไว้ในโรงพยาบาลอยางน้อย ่ 1 สัปดาห์ก่ อนครบกาหนด ํ Class II รับไว้ในโรงพยาบาลเมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป Class III รับไว้ในโรงพยาบาลตลอดการตั้ งครรภ์ Class IV รับไว้ในโรงพยาบาลตั้ งแต่ตั้ งครรภ์ จนคลอด หรืออาจพิจารณาทําแท้ง
การพยาบาลระยะคลอด
ประเมินการหดตัวของมดลูก และอัตราการเต้นของหัวใจทารก 2. ระวังการให้สารนํ้ าเพื่อการป้องกน ั Hypovolemia อาจจะเกิดก่ อนกาหนด ตกเลือดหลังคลอด ํ 3. จัดท่ า Fowler position 4. จัดสิ่ งแวดล้อม 5. ให้ออกซิเจนแบบหน้ากาก เพื่อเพิ่ ม O2 sat มากกวา ่ 95% 6. ให้ข้อมูลสุขภาพแก่ สตรีตั้ งครรภ์และครอบครัว 7. ขณะคลอด จัดท่ านอนตะแคงศีรษะสูง 8. ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ 9. ประเมินอาการมารดาอยางใกล้ชิด ขณะเจ็บครรภ์คลอด ่ 10. ระวังไม่คลึงมดลูก เพราะจะทําให้เลือดไหลกลับเข้าสู่หัวใจเร็วเกินไปอาจเกิดหัวใจล้มเหลวได้ 11. ไม่ เปลี่ยนท่ านอนเร็วเกินไป เพราะอาจเกิดความดันตํ่าโลหิตตํ่า 12. ให้Oxytocinกระตุ้นการหดตัวของมดลูก 13. ให้ยาปฎิชีวนะ เพื่อป้องกนการติดเชื ั ้อแบคทีเรียทําให้เกิดเบื่อบุหัวใจอักเสบ
การพยาบาลระยะหลังคลอด
โดยเฉพาะใน 48 ชัวโมงแรกหลังคลอด จะเป็ นช ่ ่วงที่หัวใจมีการปรับตัว จึงต้องประเมินภาวะหัวใจด้วย 1. จัดสิ่ งแวดล้อม 2. นอนตะแคง ศีรษะสูง เปลี่ยนท่ านอนช้า 3. ประเมินสัญญาณชีพ อาการและอาการแสดง 4. สังเกตุการบวมตามร่างกาย 5. สังเกตุการตกเลือดหลังคลอด 6. กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะ 7. ไม่ให้เบ่ งถ่ายอุจจาระ 8. ดูแลเก ี่ ยวกบอารมณ์ สภาพจิตใจ ั 9. ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา 10. การวางแผนที่ดีที่สุดคือให้สามีใช้ถุงยางอนามัย หรือสตรีใช้วิธีการฉีดยาคุมกาํ เนิด
โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
(Urinary Tract Disease)
คือการตอบสนองของการอักเสบของเยื่อบุผิวระบบทางเดินปัสสาวะต่อการ บุกเข้าของแบคทีเรียเนื่องจากเยื่อบุผิวระบบปัสสาวะทั้ งหมดเชื่อมต่อกนั ทั้ งหมดทําให้ทั้ งระบบของทางเดินปัสสาวะมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อ
อาการของการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะลําบาก ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะแสบขัด รวมถึงมีหนองหรือเลือดปน ออกมาด้วยการติดเชื้อที่รุนแรงขึ้น อาการอื่น ๆ เช่น มีไข้สูง อาเจียน ท้องเสีย ปวดเมื่อยตามร่างกาย กดเจ็บบริเวณหลัง เป็ นต้น ร่วมด้วย ปัสสาวะเป็ นหนอง คือการตรวจพบวามีเม็ดเลือดขาว ่ ในปัสสาวะและโดยทัวไปเป็ นข้อบ ่ ่ งชี้ของ การตอบสนองต่อการอักเสบของเยื่อบุผิวของระบบทางเดินปัสสาวะจากเชื้อ แบคทีเรียบุกเข้า สามารถบอกการวินิจฉัยจากวัณโรค นิ่ ว หรือ มะเร็ง กรวยไต อักเสบแบบเฉียบพลัน
การรักษา
ควรรีบมาพบแพทย์ภายใน 24 ชัวโมงเมื่อมีอาการและอาการแสด ่ ง เพื่อป้องกนภาวะแทรกซ้อนหรือการมีอาการที่รุนแรงมากขึ ั ้น 1. ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อกาจัดเชื ํ ้อโรค เช่น ciprofloxacin 2. ให้ยาลดไข้ และให้สารนํ้ าทางหลอดเลือดดํา 3. แพทย์อาจพิจารณาให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดําในกรณีที่มี อาการรุนแรงหรือรับประทานอาหารไม่ได้ เช่น gentamycin, cephalo sporin
กระเพาะปัสสาวะ
อักเสบ
เป็ นการอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ เป็ นปัสสาวะขัดที่เกิดทันที ปัสสาวะบ่อย ปวดปัสสาวะต้องรีบปัสสาวะ (urgency) และปวดบริเวณ ท้องน้อย (suprapubic pain
การรักษาก
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ ส่วนใหญ่ E.coli ตอบสนองได้ดีต่อยา Ampicillin 500 mg. ทุก 6 ชม. หรือ amoxycillin 500 mgทุก 8 ชม.
การพยาบาล
สตรีตั้ งครรภ์ควรมีการป้องกนการติดเชื ั ้อระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งควรมีคําแนะนํา ดังนี้ 1. ดื่มนํ้ าวันละ 2,000-3,000 มิลลิลิตร เพื่อให้มีการสร้างนํ้ าปัสสาวะมากขึ้น 2. ไม่กลั้นปัสสาวะ ควรถ่ายปัสสาวะทุกครั้งเมื่อมีความรู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะเพื่อเป็ นการ ระบายเชื้อโรคออกจากร่างกาย 3. ทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ให้สะอาดและแห้ง เพื่อลดความอับชื้น 4. รับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์อยางเคร ่ ่งครัด 5. แนะนําการสังเกตุการดิ้ นของทารกในครรภ์ 6. แนะนําให้สังเกตุอาการและอาการแสดงที่ผิดปกติ และรีบมาพบแพทย์ ได้แก่ มดลูกหด รัดตัวผิดปกติ หรือมีอาการเจ็บครรภ์
ท่อปัสสาวะอักเสบ
เป็ นการอักเสบของท่อปัสสาวะ ในผู้หญิงอาการที่เกิดจากท่อปัสสาวะ รักษา
ป้องกนด้วยยาปฏิชีวนะ
การป้องกันและดู แลสําหรับแม่ตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อระบบทางเดิน ปัสสาวะ
1.ลดการติดเชื้อด้วยการดื่มนํ้ ามาก ๆ ประมาณวันละ 10แกว ้ 2.ไม่กลั้นปัสสาวะ 3.ไม่เครียด นอนหลับพักผอนให้เพียงพอ โดยควรนอนตะแคง ่ 4.ดูแลทําความสะอาดจุดซ่อนเร้น โดยใช้นํ้ าเปล่านํ้ าสะอาดจะดีที่สุด 5.ควรสวมกางเกงในผ้าฝ้าย เพื่อให้อากาศถ่ายเทสะดวก 6.ทานผักผลไม้ที่มีวิตามินซีเพราะช่วยให้ปัสสาวะเป็ นกรด 7.ลดการใช้แผนอนามัยโดยไม ่ ่จําเป็ น เพื่อลดการอับชื้น 8.หากพบอาการผิดปกติจากการติดเชื้อ ควรรีบปรึกษาแพทย์ที่ฝากครรภ์
การรักษา
Aminoglycosides Aminoglycosides ใช้เป็ นทางเลือกอันดับแรก ของยาปฏิชีวนะสําหรับรักษาการติดเชื้อระบบ ทางเดินปัสสาวะ เมื่อมีไข้ขึ้น ควรระวังผลข้างเคียงต่อไต และการสูญเสียการได้ยิน
โรคธาลัสซีเมีย
(Thalassemia)
เป็ นโรคโลหิตจางเรื้อรังที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม เกิดจากความผิดปกติของ ยีนที่สังเคราะห์ ฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดง นําไปสู่การเกิดพยาธิสภาพกบั แทบทุกอวัยวะในร่างกาย ผู้ที่มียีนธาลัสซีเมียมีทั้ งผู้ที่เป็ นโรคและไม่ เป็ นโรค หรือพาหะ ผู้ที่เป็ นโรคมีอาการแตกต่ างกน ตั ั ้ งแต่มีโลหิตจางเล็กน้อย โลหิต จางมาก เรื้อรัง ไปจนถึงอาการรุนแรงมาก จนเสียชีวิตตั้ งแต่อยูใ่ นครรภ์มารดา หรือหลังคลอดไม่นาน
การตรวจคัดกรอง (screening tests)
1.การตรวจ OF (osmotic fragility)
2.การตรวจ dichlorophenolindophenol (DCIP) precipitation
3.การตรวจหาค่
าดัชนีเม็ดเลือดแดง
การวิเคราะห์ชนิดและปริมาณฮีโมโกลบินที่มีใช้ในประเทศไทยมี2 หลักการ คือ
หลักการโครมาโตกราฟี อัดแรงดัน มีทั้ งประเภทแรงดันสูง (high pressure l iquid chromatography : HPLC) และ แรงดันตํ่า (low pressure liquidchromat ography: LPLC)
2.หลักการแยกด้วยกระแสไฟฟ้าความ ต่ างศักย์สูงในหลอดแกวนําไฟฟ้า ้ ขนาด เล็ก(capillary electrophoresis) อาศัยการ แยกชนิดฮีโมโกลบินด้วยกระแสไฟฟ้า ความต่ างศักย์สูง (10,000-30,000volts) ผานตัวกลาง