Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา - Coggle Diagram
การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ความหมายการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การเฝ้าสังเกตอย่างต่อเนื่อง
มีการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ
การวิเคราะห์ข้อมูลและการประเมินรายงานการป่วย การตาย
วัตถุประสงค์การเฝ้าระวัง
ทราบถึงแนวโน้มที่เปลี่ยนแปลงไปของโรคภัย
เพื่อตรวจค้นให้ทราบถึงกลุ่มประชาชนที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคภัย
ให้ทราบถึงสถานการณ์ของโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุข
เพื่อติดตามลักษณะทางระบาดวิทยาของโรคภัยไข้เจ็บ
ขอบเขตและประโยชน์การเฝ้าระวัง
ขอบเขต
การเฝ้าระวังการระบาด
การเฝ้าระวังการใช้วัคซีน ซีรัม ยา
การเฝ้าระวังการตาย
การเฝ้าระวังปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรค
การเฝ้าระวังการป่วย
ประโยชน์
พบปัญหาโรคภัยไข้เจ็บได้ทันท่วงที
ได้ข้อมูลในการวางแผนงานสาธารณสุข
ประเมินผลการป้องกันและควบคุมโรค
รักษาพยาบาล ค้นหาสาเหตุของโรคและสาเหตุการระบาด
รูปแบบการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวังเชิงรับ
ข้อมูลไม่ครบถ้วนผู้เฝ้าระวังต้องคอยติดตาม
พื้นที่ขนาดใหญ่ทำเป็นเวลานานๆ
การเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่
เลือกบางพื้นที่ ที่มีโอกาสพบโรคที่เฝ้าระวังสูงๆ
ต้องการข้อมูลมีคุณภาพ
การเฝ้าระวังเชิงรุก
ทราบปัญหาได้รวดเร็วและข้อมูลครบถ้วน
ในพื้นที่ที่ไม่กว้างและเวลาสั้นๆ
การเฝ้าระวังเฉพาะ
เฝ้าระวังในสถานการณ์เฉพาะ
ออกแบบเพื่อตอบสนองภาวะฉุกเฉิน
การดำเนินการตามข่ายงาน
การวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลผล
ศูนย์ระบาดอำเภอ
งานระบาดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
การกระจายข้อมูลข่าวสารให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ประชุมระดับอำเภอ
ประชุมระดับจังหวัด
การเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ
ศูนย์บริการสาธารณสุขอื่นๆ
สถานีอนามัย
หน่วยบริการ โรงพยาบาล
เครื่องมือที่ใช้
ทะเบียนผู้ป่วยเป็นรายเดือนและอำเภอแยกตามชนิดโรค( E.2 )
ทะเบียนผู้ป่วยเป็นรายเดือนตามกลุ่มอายุและเพศแยกตามชนิดโรค( E.3 )
ทะเบียนผู้ป่วยรายวันในแต่ละเดือนแยกตามชนิดโรค( Dr )
รายงานสถานการณ์ของโรคประจำสัปดาห์ตามวันรักษาผู้ป่วย( E.4 )
ทะเบียนผู้ป่วยแยกตามชนิดโรค ( E.1 )
รายงานการปฏิบัติงานประจำเดือน( E.7 )
ทะเบียนออกเลขที่บัตรรายงานผู้ป่วย ( E.0 )
ทะเบียนรับบัตร รง.506 รายวัน( E.8 )
บัตรเปลี่ยนแปลงรายงานผู้ป่วย ( รง.507 )
ทะเบียนรับบัตร รง.506 และบัตร รง.507( E.8.1 )
บัตรรายงานผู้ป่วย( รง.509 )
แบบบันทึกกิจกรรม( E.9 )
การระบาดของโรค
ชนิด
Common-source epidemic
Propagated source epidemics
การเกิดโรคในชุมชน
โรคที่เกิดขึ้นแบบประปราย
โรคประจำท้องถิ่น
โรคระบาด
โรคระบาดแผ่กว้าง
ความหมาย
เกิดการติดต่อจำนวนมากผิดปกติในเวลาอันสั้นอย่างเฉียบพลัน
องค์ประกอบการเฝ้าระวังโรค
6.รายงานการสอบสวนการระบาดในท้องที่
7.การสำรวจทางระบาดวิทยา
5.การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย
4.การศึกษาทางห้องชันสูตรสาธารณสุข
3.การรายงานการระบาด
8.การศึกษารังของโรคในสัตว์และการกระจายของแมลงนำโรค
2.การรายงานการเจ็บป่วย
9.ข้อมูลเกี่ยวกับวัคซีน เซรุ่ม ยา
1.การรายงานการตาย
10.ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม