Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cardiopulmonary Resuscitation (CPR), นางสาวจินดารัตน์ สยามประโคนธนายุ…
Cardiopulmonary Resuscitation
(CPR)
BLS (Basic Life Support)
A = Airway
ขั้นตอนการทำทางเดินหายใจให้โล่ง
Assessment หรือประเมินความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
Call for help การเรียกขอความช่วยเหลือ
Position the victim หรือการจัดท่าผู้ป่วยระหว่างรอแพทย์
Open the airway หรือการเปิดทางเดินหายใจ
ไม่มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
Finger sweep
มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
Jaw thrust
R/O Cervical spine injury
B = Breathing
ขั้นตอนการช่วยหายใจ
Ambu face mask ต่อกับ resuscitating bag
และเปิด O2 = 12-15 LPM
เด็กเล็กบีบลมเข้า 20 ครั้งต่อนาที
เด็กโตบีบลมเข้า 15 ครั้งต่อนาที
C = Circulation
ขั้นตอนการช่วยให้โลหิตไหลเวียน
Assessment
การประเมินการทำงานของหัวใจ
การคลำ Carotid pulse ในเด็กโต
การคลำ Brachial pulse ในเด็กเล็ก
Perform chest compression
ขั้นตอนการนวดหัวใจ
การทำ External chest compression
ทำในผู้ป่วยเด็กโต
วางสันมือลงบนส่วนกลางค่อนไปข้างล่างของกระดูกหน้าอกหรือ
ประมาณ 2 นิ้วเหนือ Xyphoid process และวางสั่นมืออีกข้างบนมือแรก
ออกแรงกดให้หน้าอกยุบ 1 ใน 3 ด้วยอัตราเร็ว 100 ครั้งต่อนาที
ACLS (Advance Cardiac support)
Drug and IV line
Defebrillator
Electrocardiogram (E.C.G)
ภาวะแทรกซ้อนของการทำ CBR
อาเจียน และ Regurgitaation
กระดูกหน้าอกหัก
กระดูกซี่โครงหัก
มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
มีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด
อวัยวะภายในฉีกขาด
มีเลือดออกภายนอก
ปอดช้ำ
กระดูกซี่โครงแยกออกจากกระดูกหน้าอก
การช่วยเหลือทารก
การช่วยเหลือขั้นพื้นฐาน (Basic step)
Warmth
Clearing the airway
Positioning
Suctioning
Clearing the airway of meconium
Tactile stimulation
Oxygen administation
กระตุ้นการหายใจ (Ventilation)
ให้ O2 ทาง face mask
ใส่ท่อหลอดลมคอ ET tube
Chest compression
Two-finger technique
Thumb technique
Drugs used in pediatric
adrenaline
atropine
lidocaine
cordarone
isuprel
dopamine
dobutamine
10% calcium glucose
sodium bicarbonate
50% glucose
กระประเมินภาวะหัวใจหยุดเต้น
ภาวะของหัวใจหยุดทำงาน
Venticular Asystole คลื่นไฟฟ้าจะเป็นเส้นตรง
Venticular Fibrillation คลื่นไฟฟ้าหัวใจจะเป็นลักษณะคล้ายฟันเลื่อย
Electromechanical Dissociation
สาเหตุของการที่หัวใจหยุดทำงาน
โรคหัวใจ
Arrhythmias เช่น VT , VF
Cardiac Temponade
Severe Heart Failure
Acute Respiratory Failure และ Respiratory Arrest
Hypothermia
Hypoglycemia
Vago Vagal Reflex
Severe Hypotension หรือ Shock
Severe Acid-Base Imbalance
Severe ElectrolyteImbalance โดยเฉพาะ potassium (K+)
Drug Overdose เช่น Digitalis , Potassiun
Blood Transfusion
มี Air Embolism ขนาดใหญ่
อุบัติเหตุบางอย่าง เช่น Electric Shock , Near Drowniong
การวินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีภาวะ Cardiopulmonary Arrest
(ต้องทำอย่างรีบด่วนภายใน 5-10 วินาที)
หมดสติ ซึ่งจะเกิดเมื่อหัวใจหยุดการทำงานไปประมาณ 3-6 นาที
ซีด เขียว ซึ่งจะเห็นได้ชัดที่หน้า ริมฝีปาก และเล็บมือเล็บเท้า
ไม่หายใจ หรือมีหายใจกระตุกเป็นช่วงนานๆครั้ง
คลำชีพจรไม่ได้โดยเฉพาะที่ซอกคอ ข้อพับแขน และขาหนีบ
ฟังเสียงเต้นของหัวใจไม่ได้ หรือฟังได้แต่ช้ามาก
รูม่านตาขยายและไม่มีปฎิกิริยาต่อแสงซึ่งจะเริ่มเกิดเมื่อหัวใจหยุดทำงานไป 45 วินาที และจะขยายเต็มที่เมื่อ 1 นาที
บางรายอาจมีอาการชักได้
การประเมินและการช่วยฟื้นฟูชีวิตในผู้ป่วยเด็ก
อาการและอาการแสดงออกของ Impending Peddiatric Cardiopulmonary Arrest
มีภาวการณ์หายใจลำบาก (Respiratory Distress)
มีอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
มีอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
นางสาวจินดารัตน์ สยามประโคนธนายุ 61101440 Section 1 กลุ่ม 2
นางสาวจินดารัตน์ สยามประโคนธนายุ 61101440 Section 1 กลุ่ม 2
นางสาวจินดารัตน์ สยามประโคนธนายุ 61101440 Section 1 กลุ่ม 2
นางสาวจินดารัตน์ สยามประโคนธนายุ 61101440 Section 1 กลุ่ม 2
นางสาวจินดารัตน์ สยามประโคนธนายุ 61101440 Section 1 กลุ่ม 2