Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
HPD : G1P0A0
อายุ 16 ปี, ยา MgSO4, Cytotec 1/4 teb เหน็บทางช่องคลอด, ให้…
HPD : G1P0A0
อายุ 16 ปี
Hypertension
-
-
GA หลัง 20 wks
Proteinuria
Eclampsia/Preeclampsia
Severe
Preeclampsia
-
Blood vessels resistance
Hypoperfusion
Uterine blood flow ⬇️
Vasospasm
- 5 more items...
-
-
-
-
-
-
ระยะตั้งครรภ์
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล: มีโอกาสเกิดภาวะชักในระยะช่วงก่อนคลอดเนื่องจากภาวะความดันโลหิตสูง
ขณะตั้งครรภ์ชนิดรุนแรง
ข้อมูลสนับสนุน:
Subjective data-มีอาการปวดศีรษะตาพร่า
มัวจุกแน่นใต้ลิ้นปี
Objective data -ตั้งครรภ์ที่ 1 อายุครรภ์ 37 สัปดาห์
-ความดันโลหิตสูง 150-170 / 100-110 mmHg
-ผลการตรวจปัสสาวะ urine albumin 3+
เป้าหมายทางการพยาบาล:
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะชักเกณฑ์
การประเมิน: ควบคุมความดันโลหิต
อยู่ระหว่าง 110 / 70-130 / 80 mmHg
-ไม่มีอาการนำสู่ภาวะชักได้ก่อน ได้แก่ ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นใต้ลิ้นปี
-ไม่เกิดภาวะชัก
กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล
1.อธิบายให้ผู้คลอดทราบถึงพยาธิสภาพของโรคอาการนำสู่ภาวะซัก
อันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการชักที่จะส่งผลแก่มารดาและทารกในครรภ์
ตลอดจนความจำเป็นในการให้ยา MgSO4 และอาการข้างเคียงของ
การได้รับยา MgSO4 ซึ่งอาจพบได้เช่นอาการร้อนบริเวณที่ฉีดร้อนวูบวาบทั่วตัว
2.ให้ผู้คลอดนอนพักในท่านอนตะแคงซ้ายเพื่อลดการกดทับที่บริเวณเส้น
เลือด inferior venacava ทำให้เลือดสามารถไหลเวียนเพิ่มขึ้นที่มดลูกและรก
- ประเมินอาการนำสู่ภาวะชัก ได้แก่ อาการปวดศีรษะตาพร่ามัวเห็นภาพไ
ม่ชัดอาการปวดบริเวณใต้ลิ้นปีหรืออาการเจ็บชายโครงขวาปฏิกิริยาสะท้อน
เร็วเกินไป 3+ ขึ้นไปถ้าตรวจพบอาการอย่างใดอย่างหนึ่งต้องรีบรายงานแพทย์
4.ให้ยา 10% MgSO, 5 กรัมฉีดเข้าหลอดเลือดช้า ๆ ภายใน 15 นาที
และให้สารน้ำชนิด 5% DW 1,000 มิลลิลิตรผสมยา 50% MgSO, 10 กรัมหยด
เข้าหลอดเลือดดำในอัตรา 100 มิลลิลิตร / ชั่วโมงเพื่อป้องกันการซักและ
สังเกตอาการไม่พึงประสงค์ของยาเช่นอัตราการหายใจน้อยกว่า 14 ครั้ง / นาที
ปัสสาวะออกน้อยกว่า 30 มิลลิเมตร / ชั่วโมง deep tendon reflex น้อยกว่า 2+
ถ้าตรวจพบอาการอย่างใดอย่างหนึ่งต้องรีบรายงานแพทย์หยุดการให้ยา
5.ให้ยา Hydralazine 5 มิลลิกรัมฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำและติดตาม
การเปลี่ยนแปลงของความดันโลหิตทุก 5 นาทีถ้าความดันโลหิต
systolic มากกว่าหรือเท่ากับ 160 mmHg หรือความดันโลหิต diastolic มากกว่า
หรือเท่ากับ 110 mmHg ให้รายงานแพทย์เพื่อเพิ่มปริมาณขนาดของ
ยาจาก 5 มิลลิกรัมเป็น 10 มิลลิกรัมตามแผนการรักษาเพื่อลดความดันโลหิต
6.ประเมินระดับความรู้สึกตัวความดันโลหิตชีพจรและการหายใจ
อาการปวดศีรษะทุก 1 ชั่วโมง
และรายงานแพทย์เมื่ออาการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เลวลงกว่าเดิม
7.ตรวจและบันทึกการได้รับสารน้ำและปริมาณปัสสาวะโดยเฉพาะตรวจสอบปริมาณ
น้ำปัสสาวะทุกชั่วโมงเพราะยาจะถูกขับออกจากร่างกาย
ทางไตถ้าไตทำงานผิดปกติจะทำให้มีการคั่งของยาในร่างกาย
8.เตรียมยา 10% Calcium gluconate 10 กรัมไว้ให้พร้อมโดยฉีดเข้าหลอดเลือดดำช้าๆ
ถ้าพบการหายใจและการทำงานของหัวใจถูกกดจาก MgSO,
เพราะเป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทและกล้ามเนื้อลาย
9.จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพักผ่อนทำกิจกรรมต่าง ๆ บนเตียงเพื่อให้สามารถ
พักผ่อนได้เต็มที่ช่วยลดความดันโลหิตและป้องกันการเกิด
อาการชักไม่ปล่อยให้อยู่ตามลำพังเพราะอาการชักอาจ
เกิดขึ้นได้ขณะอยู่บนเตียงต้องยกไม้กั้นเตียงทั้ง 2 ข้างขึ้นเพื่อป้องกัน
อุบัติเหตุจากการตกเตียง
10.เตรียมอุปกรณ์และทีมช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมเพื่อช่วยเหลือได้ทันที
เมื่อมีอาการชัก ได้แก่ ไม้กดลิ้นเครื่องดูดเสมหะ
11.ให้งดน้ำและอาหารเพื่อเตรียมความพร้อมกรณีต้องยุติการตั้งครรภ์
โดยการผ่าตัดคลอดและป้องกันการสูดสำลักจากภาวะชัก
12.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อประเมินความรุนแรงของโรค
และความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ HELP Syndrome ได้แก่ เม็ดเลือดแดงแตกง่าย
ทำให้เกิดภาวะซีดระดับเอนไซม์ตับในเลือดเพิ่มสูงขึ้นทำให้ตัวเหลือง
และเลือดออกง่ายจากภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
ระยะคลอด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล: มารดามีภาวะตกเลือด
หลังคลอดเนื่องจากรกลอกตัวก่อนกำหนด
ข้อมูลสนับสนุน:
Subjective-มารดาบอกว่ามีอาการเจ็บครรภ์ร่วมกับ
มีเลือดสดออกทางช่องคลอดประมาณ 1/2 แก้ว
Blood loss =1200 ml
Objective data-Interval ได้ 2 นาที Duration 60
วินาที ความแรง 3-44 ปากมดลูกเปิด 2 cm.
-Monitor FHS wu Late deceleration
-FHS-100 bpm.
-Tetanic contraction
เป้าหมายการพยาบาล: ไม่เกิดภาวะตกเลือดจากรกลอกตัวก่อนกำหนด
เกณฑ์การประเมินผล: FHS = 110-160 bpm
- ปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดอาจไม่สัมพันธ์
กับเลือดที่ออกจริงต้องมีการสังเกตและสัญญาณชีพ เพื่อวางแผนการรักษา
2.บันทึกสัญญาณชีพทุก 15 นาทีสังเกตอาการ
เพื่อประเมินภาวะตกเลือดและภาวะช็อกสังเกต
และบันทึกลักษณะจำนวนเลือดที่ออกทางช่องคลอด
- แก้ไขภาวะภาวะ hypovolemia ภาวะขาด
ออกซิเจนและความไม่สมดุลย์ของอีเลคโตรไลท์เพื่อ
พยายามประคับประคองส่วนของรกให้ทำหน้าที่เป็น
ปกติต่อไปโดยให้สารน้าทางหลอดเลือดดำเจาะ
เลือดตรวจ CBC, BUN และอีเลคโตรไลท์ให้เลือด
ทดแทนอย่างเพียงพอแก้ไขภาวะสมดุลย์ของอิเลค
โตรไลท์ให้ออกซิเจน-สวนคาสายปัสสาวะเพื่อวัด
ปริมาณปัสสาวะ-เจาะเลือดหาระดับ fibrinogen และ
venous clotting time-ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่
สูงและการตรวจคลื่นหัวใจไฟฟ้าทารกในครรภ์
( electronic fetal monitoring; EFM)
เพื่อประเมินภาวะขาดออกซิเจนในทารก
ระยะหลังคลอด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล:
มารดาหลังคลอดไม่สามารถปรับตัวต่อบทบาทมารดาได้อย่างเหมาะสม
ข้อมูลสนับสนุน:
Subjective data มารดาไม่สนใจบุตรไม่ยอมให้นม
บุตรกลัวสูญเสียภาพลักษณ์
เป้าหมายทางการพยาบาล: มารดาหลังคลอดปรับ
ตัวต่อบทบาทมารดาได้อย่างเหมาะสม
เกณฑ์การประเมิน:-มารดามีความสนใจ
บุตรมากขึ้น
-มารดาให้นมบุตรได้อย่างถูกต้องตามหลัก 4 ดูด
กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล
1.ดูแลช่วยเหลือประคับประคองและตอบสนองความ
ต้องการของมารดาหลังคลอดทางด้านร่างกาย
ในเรื่องการรับประทานอาหารการพักผ่อนการรักษา
ความสะอาดของร่างกายการขับถ่ายการทำกิจกรรม
ต่างๆลดภาวะไม่สุขสบายต่างๆรวมทั้งควรประคับ
ประคองทางด้านจิตใจ
2.ให้การพยาบาลด้วยท่าทีที่อบอุ่นเห็นอกเห็นใจ
เข้าใจความรู้สึกด้วยความจริงใจเพื่อให้มารดาหลัง
คลอดมีความรู้สึกว่ามีผู้สนใจเอาใจใส่ตนเองเกิด
ความอบอุ่นใจ
- เปิดโอกาสให้มารดาหลังคลอดได้ระบายความ
รู้สึกและรับฟังด้วยความสนใจจะช่วยให้มารดาหลัง
คลอดสบายใจขึ้น
4.พยาบาลควรอธิบายให้สามีและญาติเข้าใจถึง
ความรู้สึกและการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ของ
มารดาหลังคลอดและสนับสนุนให้มารดาหลังคลอด
ได้พูดคุยกับสามีญาติรวมทั้งมารดาหลังคลอดราย
อื่นๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์
ในการคลอด
5.สังเกตอาการผิดปกติทางด้านจิตใจที่อาจจะเกิด
ขึ้นให้ความสนใจทั้งคาพูดและพฤติกรรมที่แสดงออก
เพื่อประเมินสภาพจิตใจและให้การพยาบาลช่วย
เหลือ แต่เนิ่นๆก่อนที่อาการทางจิตจะรุนแรงมากขึ้น
6.ช่วยเหลือมารดาในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
ตามหลัก 4 ดูดคือดูดเร็วดูดบ่อยดูดถูกวิธี
และดูดเกลี้ยงเต้า
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
เอกสารอ้างอิง
- คณะอนุกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556-2558. แนวทางการปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทยเรื่องการดูแลภาวะครรภ์เป็นพิษ: RTCOG clinical practice guideline management of preeclampsia and eclampsia 2558.
Available from: www.rtcog.or.th/html/photo/CPG_579673.pdf.
- ธีระทองสง, บรรณาธิการ. สูติศาสตร์ 5ed. กรุงเทพฯ: พี.บี. ฟอร์บุ๊คส์, 2555.
- อุ่นใจกออนันตกุล, บรรณาธิการ. การตั้งครรภ์ความเสี่ยงสูง: High risk pregnancy, สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์, 2549.