Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 18 พหุวัฒนธรรม - Coggle Diagram
บทที่ 18 พหุวัฒนธรรม
รากฐานของพหุวัฒนธรรม
แนวคิดการจัดการศึกษาเน้นพหุวัฒนธรรม เป็นแนวคิดดั้งเดิมประชาธิปไตยที่พัฒนาจากประเทศตะวันตก
ความอิสระ
ความยุติธรรม
ความเท่าเทียม
เป็นแนวคิดปฏิบัติทางการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผุ้คนในสังคมมีความเท่าเทียม ความเสมอภาค
ความหลากหลายในห้องเรียน
ความชำนวญพหุวัฒนธรรมสำหรับครู
รัฐบาลคาดหวังว่าครูต้องเข้าใจวัฒนธรรมที่แตกต่าง สามารถปรับตัวเข้ากับผุ้เรียน
การจัดการเรียนการสอนแบบพหุวัฒธรรม
การเริ่มต้นการเรียนการสอนแบบพหุวัฒนธรรม
การสร้างบรรยากาศของห้องเรียนที่เป็นพหุวัฒนธรรม
ให้นักเรียนเป็นศูนยืกลางในกระบวนการเรียนการสอน
สนับสนุนสิทธิเสรีภาพและความแตกต่างด้านวัฒนธรรม
ตระหนักเสมอว่าผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้
ทราบถึงประวัติความเป็นมาและประสบการของผู้เรียน
พยายามทำความเข้าใจเรื่องการเหยียดชนชาติ
เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เข้าถึงสังคมที่ยุติธรรม
การสนับสนุนนิสันส่วนตัว
การสอนโดยคำนึงถึงวัฒนธรรม
เชื้อชาติและชาติพันธ์ุ
ชาติพันธุ์
เป็นกลุ่มประชากรที่เป็นสมาชิกของกลุ่มชนแต่ละคนระบุโดยอาศัยสัญชาติ
เชื้อชาติ
เป้นการอธิบายถึงแหล่งกำเนิดทางชีววิทยา
ขอบเขตของพหุวัฒนธรรม
ตระหนักถึงความหลากหลายในเชิกบวก ซึ่งแสดงให้เห้นผลขององคืความรู้ในวัฒนธรรมที่แตกต่างในตัวผุ้เรียน
เพศ
อายุ
เชื้อชาติ
ชาติพันธุ์
ภาษา
ภูมิศาสตร์
ศาสนา
ชนชั้น
รุ่นของกลุ่มคน
ความสามารถพิเศษ
ความหลากหลายของชาติพันธุ์
สหรัฐอเมริการเป้นประเทศที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ ประมาน 300 เชื้อชาติ
การอพยพ
จากการตรวจสอบคนเข้าเมืองในหลาย ๆ ประเทสที่อพยพเข้ามาทำให้มีหลากหลายเชื้อชาติ