Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กหญิงไทย อายุ 10 เดือน, บิดามารดามีความวิตกกังวลเนื่องอาการเจ็บป่วยของบ…
เด็กหญิงไทย อายุ 10 เดือน
เชื้อเข้าสู้ปอด
Adherence to alveola macrophages
Inflammation response
Fluid in air sac
Sputum คั่ง
Chest percussion Therapy prn
จัดท่าเพื่อระบายเสมหะ คือการจัดท่าที่ทำใหป้อดบริเสวณที่เสมหะสะสมอยู่ในตำแหน่งที่คว่ำลง หรือนอนคว่ำเพื่อให้แรงโน้มถ่วงดึงให้เสมหะเคลื่อนตัวลงมาสู้ท่อลมขนาดใหญ่
ปูผ้าขนหนูลงบริเวณที่จะเคาะปอด ผู้บำบัดห่อมือเป็นพุ่ม วางมือที่ทรวงอกที่คาดว่ามีเสมหะ เคาะสลับมืออย่างรวดเร็ว ขยับเคลื่อนไหวควรเกิดจากการกระดกขึ้นลงของข้อมือ แทนการงอเหยียดข้อศอก ไม่เคาะบริเวณทรวงอกด้านหน้าผู้หญิง
การเคาะปอดและการสั่นปอด ใช้นิ้วชี้ กลาง นางทำเป็นรูปถ้วยและเคาะลงบนผนังทรวงอกตำแหน่งที่มีเสมหะ
ร่างกายกระตุ้นการขับออกมากขึ้น
Cilia โบกพัด
ไอ
มีเสมหะ
ความยืดหยุ่นของปอดลดลง
Increase resistance
เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ส่วนปลายที่เป็น air space มีการแฟบ
Air tapping
1 more item...
RBC เพิ่มขึ้น,WBC เพิ่้มขึ้น,Neutrophil เพิ่มขึ้น,Lymphocyte เพิ่มขึ้น , fibrin เพิ่มขึ้น
เข้าสู่ Alveolar
หลอดเลือดฝอยที่ผนังAlveoli ขยายตัว
พื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
ออกซิเจน ลดลง
Hypoxia
หายใจหอบเหนื่อย
1 more item...
มีโอกาสเกิดภาวะเนื้อเยื่อของร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียวพอ เนื่อจากมีความบกพร่อง ในการแลกเปลี่ยนก๊าซจากการอักเสบของถุงลมและเนื้อเยื่อรอบ ๆ
3 more items...
Ventolin syr 2 ml. oral tid (2mg/5ml)
Ventolin 1 ml. up o 4 ml. NB q 4 hrs. prn (2.5 mg/2.4 ml)
มีความบกพร่องในการแลกเปลี่ยนก๊าซ เนื่องจากมีการอักเสบของถุงลมและเนื้อเยื่อรอบ ๆ
Resolution of infection
Hypothalamus set point
มีอุณหภูมิสูง เนื่องจากมีไข้
เป้าหมาย
ไม่มีไข้จากการติดเชื้อ
เกณฑ์การประเมินผล
อุณหภูมิร่างกายลดลง
ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื้นและนอนหลับพักผ่อนได้
ปากแห้งลดลงหน้าตาแดง
กิจกรรมการพยาบาล
เช็คตัวลดไข้ โดยใช้น้ำธรรมดาหรือน้ำอุ่น
2.ให้ยา Paracetamol ลดไข้ตามแผนการรักษาเป็นครั้งคราว ห่างกัน 4-6 ชั่วโมง เมื่อมีไข้มากกว่า 38 องศาเวลเวียส
ประเมินสัญญาณชีพ ๆด้แก่ อุณหภูมิชีพจรการหายใจและความดันโลหิตอย่างน้อย ทุก 4 ชั่วโมง
4.จัดสิ่งแวคล้อมให้เงียบสงบมีอากาศถ่ายเทสะดวกเพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนและลดการใช้พลังงาน
มีภาวะได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย เนื่องจากมีการใช้พลังงานมากขึ้นจากไข้สูง
เป้าหมายการพยาบาล
ได้รับพลังงานเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
น้ำหนักควรอยู่ที่ 9.5 kg
พลังงานที่ควรได้รับ 950 kcal/day
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลความสะอาดช่องปากเพื่มเพิ่มความอยากรับประทานอาหารมากขึ้น
2.คำนวณความต้องการพลังงานอาหารตามน้ำหนักตัวทารก
3.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับประทานอาหารครบทุกมื้อและอาหารว่างระหว่างมื้อ
BP = 38.6 องซาเซลเซียล
5%DN/3 v drip 30 cc/hr
Paracetamol drop 0.8 ml. oral prn (100mg/1ml)
ซักประวัติการตรวจเพิ่มเติม
ซักประวัติการคลอด
ประวัติการได้ัรบวัคซีค
ซักประวัติในระบบทางเดินหายใจ
การคลอดก่อนกำหนด แรกคลอดมีการสำลักน้ำคร่ำหรือไม่
อาการสำคัญ
ไอ เจ็บคอ มีไข้เจ็บหน้าอก
ประวัติสุขภาพปัจจุบัน
อาการไอ
ช่วงเวลาที่ไอ เริ่มไอเมื่อไหร่ ความถี่ของการไอ
เสมหะ
เริ่มมีเสมหะ ลักษณะของเสมหะ สี กลิ่น ปริมาณ
อาการหายใจลำบาก
อาการเริ่ม ช่วงเวลาที่เกิด
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต
เกี่ยวกับระบบบทางเดินหายใจ การเจ็บป่วยเรื้อรัง
ประวัติสุขภาพคนในครอบครัว
การสูบบุหรี่ ประวิติการเจ็บป่วย
สิ่งแวคล้อม
สิ่งแวคล้อมทั้งที่บ้านมีฝุ่นละออง
การเดินทาง
การเดินทางจากต่างประเทศ
เชื้อไวรัส
Influenzavirus,Respiratorysyncytialvirus(RSV)
การวินิจฉัยแยกโรค
ถ้าเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย จะมีไข้สูง ซึมลง หายใจหอบ มีการหายใจลำบากหดรั้งของกล้ามเนื้อช่วยหายใจ ปอดมีเสียง crepitation ผล x-ray ปอด จะพบ Lobar consolidation ผลการตรวจเลือด CBC จะพบ WBC มากกว่า 15,000 ลบ.มม. การดำเนินโรคแบบเฉียบพลัน
ถ้าเกิดจากเชื้อไวรัส จะมีไข้สูง ไอ น้ำมูก หายใจดัง พบเสียงปอดผิดปกติ คือ crepitation มี wheezing มี hyperinflation ร่วมกับ bilateral interstitial infiltration ผลการตรวจเลือด WBC อาจปกติหรือสูงเล็กน้อย การดำเนินโรคแบบเฉียบพลัน
เชื้อแบคทีเรีย
Streptococcuspneumonia,Group A beta streptococci
บิดามารดามีความวิตกกังวลเนื่องอาการเจ็บป่วยของบุตร
ให้บิดามารดาได้พบปะพูดคุยหรือระบายความรู้สึกสอบถาม
ให้ความรู้บิดามารดาเกี่ยวกับอาการเจ็บป่วย