Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับความเป็นครู, นางสาว ลัดดาวัลย์ โกวัง รหัสนิสิต…
ภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับความเป็นครู
ความสำคัญ
วัฒนธรรมเป็นตัวกำหนดรูปแบบของสถาบัน
วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือช่วยแก้ปัญหา และสนองความต้องการของมนุษย์
วัฒนธรรมทำให้เกิดความสามัคคีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
วัฒนธรรมเป็นเครื่องสร้างระเบียบแก่สังคมมนุษย์
วัฒนธรรมเป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติ
วัฒนธรรมช่วยให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้า
คุณลักษณะความเป็นครู
บทบาทของครูต่อเยาวชน
สั่งสอนวิชาการต่างๆ เพื่อให้ศิษย์นำไปใช้ประกอบอาชีพ
อบรมสั่งสอนให้ศิษย์เป็นคนดี เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม
บทบาทหน้าที่ของครูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จัดทำและพัฒนาสื่อการเรียนรู้
พัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลที่ใฝ่รู้ ทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ
จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง แสดงออกอย่างอิสระและมีส่วนร่วมทุกกิจกรรม
เป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรม ปฏิบัติต่อเพื่อนครูและผู้เรียน
วางแผนสร้างหน่วยการเรียนรู้ กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้
จัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนและสถานศึกษาให้เอื้อต่อการเรียน
จัดการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสภาพจริงของผู้เรียน
จัดทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการการเรียนรู้
บทบาทของครูตาม TEACHERS MODEL
Cultural Heritage (การสืบทอดวัฒนธรรม) ต้องทําหน้าที่และรับผิดชอบในการสืบทอดวัฒนธรรมจากคนรุ่นหนึ่ง ไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง
Human Relationship (มนุษยสัมพันธ์) ต้องทําตัวให้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อบุคคลทั่วๆ ไป
Academic (วิชาการ) หน้าที่และความรับผิดชอบในทางวิชาการทั้งของตนเองและของลูกศิษย์
Evaluation (การประเมินผล) การประเมินผลการเรียนการสอนของนักเรียน
Ethics (จริยธรรม) หน้าที่และความรับผิดชอบในการส่งเสริมจริยธรรมให้แก่นักเรียน
Research (การวิจัย) ครูต้องเป็นนักแก้ปัญหา
Teaching (การสอน) บทบาทในการทําหน้าที่สั่งสอนศิษย์
Service (การบริการ) การให้บริการแก่ศิษย์ ผู้ปกครองและชุมชน
ความหมาย
หน้าที่
ธุรกิจที่ต้องกระทำตามคำสั่งให้เกิดผลด้วยความดี หรือการปฏิบัติงานตามตําแหน่ง
ความรับผิดชอบ
การปฏิบัติงานและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ดีที่สุดที่จะสามารถทำได้
บทบาท
การแสดงออกของคนซึ่งคนอื่นคาดคิด
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของครู
สร้างแรงจูงใจ
การสอน
คุณลักษณะที่ดีของครู
ตามเกณฑ์ประเมินสรรหาครูดีเด่นของคุรุสภา
หลักเกณฑ์ทั่วไป
ด้านความร่วมมือในการพัฒนาชุมชน
เป็นผู้มีลักษณะเป็นผู้นำ โดยผลงานหรือโครงการที่เกิดจากความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนาชุมชน และให้ความร่วมมืออย่างดีต่อชุมชน
ด้านธุรการ
จัดทำระเบียนให้เรียบร้อยเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ จัดทำบัญชีเรียกชื่อ รายงานผลการเรียนการสอน
ด้านมนุษยสัมพันธ์และสัมพันธภาพในครอบครัว
มีมนุษยสัมพันธ์ดีเยี่ยมต่อบุคคลทั่วไปและมีความสัมพันธ์อันดีภายในครอบครัว
ด้านอุปนิสัย
เป็นที่รักของศิษย์ และบุคคลทั่วไป มีอารมณ์ดี และมีความสามารถควบคุมอารมณ์ได้ดี
ด้านบุคลิกภาพ
แต่งกายสะอาดเรียดร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะมีท่วงทีวาจาสุภาพเรียบร้อย มีกริยามารยาทดี ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
ด้านสุขภาพอนามัย
เอาใจใส่ต่อสุขภาพของตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ
ด้านจรรยามารยาทและคุณธรรม
เป็นผู้มีความยุติธรรม เมตตากรุณา รับผิดชอบงานและตรงต่อเวลา มีความรักและเอาใจใส่ต่อศิษย์ มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่น่าไว้วางใจ รักษาความลับของศิษย์และมีความศรัทธาต่อวิชาชีพครูอย่างมาก
ด้านความเสียสละ
อุทิศเวลาให้กับงานสอน เสียสละกำลังกาย กำลังทรัพย์เพื่อประโยชน์ต่อการศึกษา
ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
หมวดที่ 2 มีคุณธรรม จรรยาบรรณ
มีวินัย
มีความขยัน
มีความรับผิดชอบ
มีความอดทน
มีความยุติธรรม
มีความประหยัด
มีเมตตากรุณา
มีความรักและศรัทธาในอาชีพครู
มีความเป็นประชาธิปไตยในการปฏิบัติและการดำรงชีวิต
หมวดที่ 3 มุ่งมั่นพัฒนา
การพัฒนาตนเอง
สนใจใฝ่รู้
เพิ่มพูนวิทยฐานะ
รู้จักสำรวจและปรับปรุงตนเองอยู่เสมอ
คิดค้นคว้าวิทยาการใหม่ๆ
การพัฒนาชุมชนบำเพ็ญประโยชน์แก่ชุมชน
เข้าร่วมประชุมกิจกรรมของชุมชนตามความเหมาะสม
ส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามวิถีทางประชาธิปไตยแก่ชุมชนโดยประพฤติตนเป็นแบบอย่าง
มีส่วนร่วมให้โรงเรียนเป็นแหล่งวิทยาการชุมชน
ประสานงานกับผู้ปกครองนักเรียนเพื่อทำประโยชน์ต่อชุมชน
นำความรู้และเทคโนโลยีสมัยใหม่มาสู่ชุมชน
เป็นผู้นำในการิเริ่มกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน
หมวดที่ 1 รอบรู้ สอนดี
ด้านความรู้และความสามารถในวิชาชีพครู
รู้เนื้อหาวิชาที่สอน
ทำการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
รู้หลักสูตร
รู้หลักการวัด และประเมินผล
รู้แผนการศึกษาแห่งชาติ
สอนซ่อมเสริม
การพัฒนาการสอน
ด้านสนับสนุนการเรียนการสอน
บริการเชิงแนะแนว
บริการด้านกิจการนักเรียน
บริการด้านสื่อการเรียนการสอน
งานธุรการ
ด้านรอบรู้สถานการณ์บ้านเมืองและความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ
ติดตามความเคลื่อนไหวและสถานการณ์ของบ้านเมืองในปัจจุบัน
จับประเด็นปัญหาและความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของสังคมได้
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมเป็นฐาน
ศิลปะการถ่ายทอดของครูมืออาชีพ
ผู้พูดควรปฏิบัติ คือ พูดจากใจ จริงใจ มั่นใจ สุดใจ แต่อย่าข่มใจ คนที่พูดเป็นจึงมีลักษณะคนฉลาดเอาปากไว้ที่ใจ คนโง่เอาใจไว้ที่ปาก การใช้ถ้อยคำที่เหมาะสม
เทคนิคในการถ่ายทอดของครู
เทคนิคการทำให้ผู้เรียนเข้าใจและจำง่าย
เทคนิคการสร้างอารมณ์ขัน การถ่ายทอดทำให้สนุกสนาน
เทคนิคการสอนบรรยาย
เทคนิคการสร้างอารมณ์ขัน
สะสมจัดจำประโยค คำพูดที่ดี และสร้างสรรค์
นำมาดัดแปลงแต่งเล็กน้อยเอาไว้ใช้ในการสนทนาปราศรัยกับบุคคลต่างๆ
มีความแหลมคม จดจำและบันทึก คำพูดหรือประโยคที่ใช้คำแหลมคมทั้งหลาย
แสดงถูกกาลเทศะ คือ พูดให้เหมาะสม กับเวลา บุคคล โอกาสและสถานที่
มองโลกในแง่ดี
เทคนิคการตั้งคำถาม การถามครูอาจจะถามโดยระบุชื่อผู้ตอบ หรือถามขึ้นลอยๆ
เทคนิคการตอบคำถาม ครูที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้เมื่อถูกผู้เรียนถาม ควรชมเชยผู้ถามว่าเป็นคำถามที่ดี และให้ผู้ถามทบทวนคำถามเพื่อครูจะได้มีเวลาคิดหาคำตอบ
ศิลปะในการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเรียนรู้
ครูควรสร้างบรรยากาศที่เป็นกันเองและท้าทาย
แนะแนวหรือชี้นำมากกว่าการสอน ครูควรเปลี่ยนบทบาทจากผู้บอกมาเป็นพี่เลี่ยง
ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ให้ผู้เรียนมีอิสระในการคิดการทำ
ต้องคำนึงถึงประสบการณ์ในอดีตของผู้เรียน
ใช้วิธีสอนที่หลากหลาย
สร้างแรงจูงใจ
ครูควรจัดกิจกรรมให้สัมพันธ์หรือสอดคล้องกับสภาพปัญหาที่เป็นอยู่
การจัดกิจกรรมควรให้ผู้เรียนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทันที
กลยุทธ์การถ่ายทอด
กลยุทธ์ในการสร้างบรรยากาศที่ดีในการถ่ายทอด
ครูต้องสร้างความสัมพันธ์กับผู้เรียนทุกคนใช้ศิลปะในการใช้ภาษาท่าทางที่เหมาะสมกับเนื้อหา
กลยุทธ์การถ่ายทอดได้ชัดเจนและเป็นขั้นตอน
นำเสนอกิจกรรมเป็นลำดับขั้นตอน จากง่ายไปหายาก ทำการทดสอบผู้เรียนเป็นระยะๆ และสรุปประเด็นเพื่อทำการเสนอแต่ละกิจกรรม
กลยุทธ์และใช้เทคนิคการถ่ายทอดน่าสนใจ
การสอดแทรกกิจกรรมที่สนุก และมีบรรยากาศการแข่งขันให้ผู้เรียนได้ประเมินตนเองเพื่อทราบศักยภาพตนเอง
กลยุทธ์กระตุ้นผู้เรียน
การพูดของครูต้องใช้เสียงสูงต่ำ พลังเสียงต้องปลุกความสนใจ การตั้งคำถามควรท้าทายผู้ฟัง
กลยุทธ์เสริมสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้
ครูต้องบอกประโยชน์ บอกแนวทางในการสอน ตั้งคำถามให้ผู้เรียนคิดติดตาม
กลยุทธ์ในการทำให้ผู้เรียนเข้าใจง่าย และจำง่าย
ครูควรใช้ภาพประกอบ ใช้เพลง โคลง กลอน เพื่อสร้างความจดจำ ยกตัวอย่างที่ใกล้ตัวกับผู้เรียนหรือเรื่องที่เกิดขึ้นปัจจุบัน
กลยุทธ์การสร้างความพร้อมของครู
ต้องมีความกระตือรือร้น มีชีวิตชีวา พูดพร้อมกับใช้ภาษาท่าทาง แสดงออกอย่างมีศิลปะเตรียมสื่ออุปกรณ์ให้พร้อม
การเรียนการสอนในโลก Online
สอนเด็กให้ใช้ online
ฝึกให้เด็กเขียนบทความ เรื่องราว นิทานลงใน web ให้เด็กรู้จักสิทธิส่วนบุคคล ลิขสิทธิ์ ความปลอดภัย การลอกเลียน จรรยาบรรณของนักเขียน
ฝึกให้เขียนหลายรูปแบบไม่ใช่มีเพียงตัวอักษรเท่านั้น แต่มีกราฟ สถิติ และภาพประกอบด้วย และควรใช้ภาษาที่ถูกต้อง
ก่อนจะเลือกใช้แหล่งใดควรตรวจสอบความน่าเชื่อถือแหล่งข้อมูล ความแม่นยำของข้อมูล ความสมเหตุสมผล ความสอดคล้องของเนื้อหา
ฝึกให้เด็กรู้จักกระทำข้อมูลที่ได้รับ สรุป ตัดต่อ วิเคราะห์รวบรวมเพิ่มเติม ให้เข้าเป็นเนื้อหาเดียวกัน
ครูควรสอนให้เด็กกำหนดวัตถุประสงค์ และคำสำคัญของเรื่องที่ต้องการค้น (Keyword) แล้วใช้ RSS (Really Simple Syndication) หรือ search engines ซึ่งจะพบเรื่องที่เด็กจ้องการจากหลายแหล่ง
รับฟังความคิดเห็นหลากหลายด้วยใจเปิดกว้างจากแหล่งหลายมุมมอง เพื่อเพิ่มเติมความรู้ แนวความคิด และทักษะในการเขียนของตน
การก่อกวน Online
Phising
ความพยายามจะค้นข้อมูลส่วนตัวของคุณ โดยกระทำว่ามาจาก site ที่คุณคุ้นเคยหรือไว้ใจ คุณต้องทราบว่า e-mail ของคุณมาจากไหน อย่าให้ข้อมูลของคุณแก่ site ที่ไม่น่าเชื่อถือ
Cyber bullying
เป็นวิธีการดูถูกล้อเลียน เหยียดหยาม ข่มขู่ทาง Internet ซ้ำแล้วซ้ำอีก
Flamming
การส่งข้อความดูถูกเหยียดหยาม ใส่ร้ายและอื่นๆ ทาง e-mail
Cyber harassment
เป็นการก่อกวน รังควาญ หรือข่มขู่ แต่มักจะมีผู้ใหญ่เข้ามาเป็นตัวก่อกวน วิธีแก้คือ แจ้งผู้ใหญ่ เจ้าหน้าที่ตำรวจ หรือผู้ที่เราไว้ใจให้ทราบเพื่อหาทางแก้ไข
Cyber bullying or harassment by proxy
อาการที่มีคนพยายามทำให้คุณทำอะไรที่สกปรก ผิดกฎหมาย หรือศีลธรรม หรือต้องการให้คุณมีการโต้ตอบอย่างรุนแรงโดยวิธีการ Online
Online Grooming
การหลอกลวง Online ปกติเหยื่อมักจะเป็นเด็กวัยรุ่น หรือสาวซื่อเชื่อคนง่าย หรือ โลภอยากได้อะไรง่ายๆ
การใช้ Online ของเด็ก
ผู้ใช้บางคนพิมพ์เนื้อหาที่อ่านออกมาเพื่อไม่อยากวุ่นวายกับเทคโนโลยีและข้อมูลมากเกินไป
ผู้ใช้ข้อมูลมักจะหลีกเลี่ยงข้อมูลมากเกินไปด้วยการจำกัดจำนวน Websites ที่ตนเข้าไป โดยเฉพาะผู้ใช้ที่ไม่ชำนาญ
ตอบสนองต่อข้อมูลที่เข้าใจง่าย ถ้าข้อมูลมากเกินไปก็จะเลิกสนใจ หรือยากเกินไปจะมองข้าม
ผู้ใช้ที่ชำนาญมักจะใช้วิธีการทำลายอย่าง (Multitasking)
นางสาว ลัดดาวัลย์ โกวัง รหัสนิสิต 60204248 สาขาชีววิทยา คณะวิทยาลัยการศึกษา