Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับความเป็นครู, นส.พัชราภรณ์ พลตาล 60206688 - Coggle…
ภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับความเป็นครู
ความสำคัญภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับความเป็นครู
ภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับความเป็นครู ช่วยเสริมสร้างความรู้และเข้าใจในบริบทสภาพแวดล้อมทางสังคมวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิตของผู้คนในแต่ละพื้นที่ที่มีความแตกต่างทั้งภูมิภาคของประเทศไทย ภาคเหนือ อีสาน กลาง ใต้ ตะวันออกและตะวันตก
คุณลักษณะที่ดีของครู
ตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา
หลักธรรมนั้นมี 7 ประการ คือ ปิยะ ครุ ภาวนีโย วัตตา วจนักขโม คัมภีร์รัญจะ กถัง กัตตา โน จักฐาเน นิโยชเย
ตามพระราชดำรัส
พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช พระองค์ได้ทรงสอนกับผู้ที่จะเป็นครูที่ดีได้นั้น ต้องมีองค์ประกอบหลายอย่าง ต้องมีความขยัน พากเพียร มีเตตา มีความรอบรู้ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทำให้เรานำมาปฏิบัติเพื่อจะได้เป็นครูที่ดี
ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติตน
ตามเกณฑ์ประเมินสรรหาครูดีเด่นของคุรุสภา
ด้านจรรยามารยาทและคุณธรรม ด้านบุคลิกภาพ ด้านธุรการ ด้านมนุษยสัมพันธ์และสัมพันธภาพในครอบครัว ด้านความร่วมมือในการพัฒนาชุมชน ด้านอุปนิสัย ด้านสุขภาพอนามัย ด้านความเสียสละ
คุณลักษณะความเป็นครู
หน้าที่สําคัญของคนเป็นครู คือ การสอนและการสอนนั้นเป็นกระบวนการที่ผสมกันระหว่าง ศาสตร์ กับ ศิลป์
บทบาทของครูตาม TEACHERS MODEL
T – Teaching
บทบาทในการทําหน้าที่สั่งสอนศิษย์ให้เป็นคนดีมีความรู้ในวิชาการทั้งปวง ซึ่งถือว่าเป็นงานหลักของครูทุกคน ทุกระดับชั้นที่สอน
E – Ethics
การที่ครูมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการส่งเสริมจริยธรรมให้แก่นักเรียน
A – Academic
การที่ครูต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบในทางวิชาการ ทั้งของตนเองและของลูกศิษย์
C – Cultural Heritage
อาจารย์ต้องทําหน้าที่และรับผิดชอบในการสืบทอดวัฒนธรรมจากคนรุ่นหนึ่ง ไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง เช่น การแต่งกาย ประเพณีต่าง ๆ
H – Human Relationship
ครูอาจารย์ต้องทําตัวให้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อบุคคลทั่วๆ ไป เพราะการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีจะช่วยให้ครูสามารถปฏิบัติหน้าที่การงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
E – Evaluation
การประเมินผลการเรียนการสอน ของนักเรียน
R – Research
การวิจัยเป็นวิธีการแก่ปัญหา และการศึกษาหาความรู้ความจริงที่เชื่อถือได้โดยใช้วิธีการที่เชื่อถือได้
S – Service
การให้บริการแก่ศิษย์ ผู้ปกครองและชุมชน
บทบาทครูในด้านต่างๆ
บทบาทหน้าที่ของครูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วางแผนสร้าง จัดทำแผน พัฒนาสื่อการเรียนรู้ พัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลที่ใฝ่รู้ เป็นแบบอย่างที่ดี จัดสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรียน วัดผลและประเมินผล ทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาหลักสูตร
บทบาทของครูต่อเยาวชน
หน้าที่สั่งสอนวิชาการต่างๆ เพื่อให้ศิษย์นำไปใช้ประกอบอาชีพ อบรมสั่งสอนให้ศิษย์เป็นคนดี เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม
บทบาทของครูต่อสังคม
ครูมีบาทบาทต่อสังคม ควรทำตนเป็นผู้นำของชุมชน ช่วยให้การพัฒนาชุมชนให้สงบสุข และเจริญก้าวหน้าทั้งในด้านวัตถุและจิตใจ
บทบาทของครูต่อศาสนา
ครูมีบทบาทต่อศาสนา ต้องช่วยทะนุบำรุงรักษาศาสนาให้เจริญมั่นคง สถิตสถาพรอยู่ตลอดไปด้วยการประพฤติปฏิบัติตามหลักคำสอนของศาสนานั้นๆ
บทบาทของครูในฐานะเป็นวิศวกรสังคม
ครูซึ่งเป็นผู้นำเอาความรู้ด้านต่างๆ มาประยุกต์ในการสอน โดยต้องใช้ความชำนาญ ความรู้ ประสบการณ์ในหลายๆ ด้าน มาสร้างเครื่องมือในการสอน
บทบาทของครูต่อการพัฒนาการเมืองการปกครอง
ครูคือต้องเป็นผู้จัดกระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องและส่งเสริมระบบการปกครอง
บทบาทของครูต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ
ครูต้องส่งเสริมให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การออมทรัพย์เพื่อสร้างนิสัยในการประหยัดอดออม
บทบาทของครูในการสร้างสันติสุข
การปลูกฝังความเป็นนักประชาธิปไตยให้แก่นักเรียน
บทบาทของครูในฐานะผู้ถ่ายทอดภาษาและวัฒนธรรม
มุมมองต่อวัฒนธรรมในยุคปัจจุบัน
จึงมีวัฒนธรรมอันเฉพาะตัวของแต่ละสังคมที่หลากหลายมากมาย และอาจเปลี่ยนแปลงไปได้ตามสภาพแวดล้อม ยุคสมัย และปัจจัยอื่นๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์
วัฒนธรรมไทยกับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยเป็นวัฒนธรรมของชาติ ซึ่งสะท้อนออกมาในรูปแบบของภาษา ดนตรี อาหาร การประพฤติปฏิบัติตน และส่วนประกอบอื่นๆ ในชีวิตประจำวัน
วัฒนธรรมไทยประจำภูมิภาค
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ
วัฒนธรรมของชาวล้านนาที่ยังคงยึดมั่นในขบธรรมเนียมประเพณีของพระพุทธศาสนา ที่แสดงออกถึงมิตรไมตรีและความเอื้อเฟิ้อเผื่อแผ่ต่อกัน มีการสืบทอดมาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง
วัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา แต่ลักษณะที่แตกต่างกันออกไปบ้าง เนื่องจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สังคม และค่านิยมในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์บนพื้นฐานประวัติศาสตร์อันยาวนาน วัฒนธรรมต่างๆ ของภาคอีสายเป็นการนำแนวความคิด ความศรัทธา และความเชื่อที่ได้สั่งสมลืบทอดเป็นมรดกต่อกันมา
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้
มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาอันยาวนาน เป็นแหล่งรับอารยธรรมพระพุทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาอิสลาม ซึ่งได้หล่อหลอมเข้ากับความเชื่อดั้งเดิม ก่อให้เกิดการบูรณาการเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมเป็นฐาน
ศิลปะการถ่ายทอดของครูมืออาชีพ
พูดเป็นจึงเป็นการถ่ายทอดความคิด ความรู้จากตัวผู้พูดไปยังผู้ฟัง เพื่อให้ผู้ฟังมีความรู้ความเข้าใจ โดยความสำคัญของการถ่ายทอดของครู คือ ใช้สอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ ครูผู้มีความสามารถในการถ่ายทอดนั้น จะต้องฝึกโดยการอาศัยพรแสวงมากกว่าพรสวรรค์
เทคนิคในการถ่ายทอดของครู
เทคนิคการสอนบรรยาย
. เทคนิคการทำให้ผู้เรียนเข้าใจและจำง่าย
. เทคนิคการทำให้ผู้เรียนเข้าใจและจำง่าย
เทคนิคการสร้างอารมณ์ขัน มี 5 วิธี
มองโลกในแง่ดี
. มีความแหลมคม จดจำและบันทึก คำพูดหรือประโยคที่ใช้คำแหลมคมทั้งหลาย
สะสมจัดจำประโยค คำพูดที่ดี และสร้างสรรค์
นำมาดัดแปลงแต่งเล็กน้อยเอาไว้ใช้ในการสนทนาปราศรัยกับบุคคลต่างๆ
. แสดงถูกกาลเทศะ
ศิลปะในการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเรียนรู้
สร้างแรงจูงใจ
ต้องคำนึงถึงประสบการณ์ในอดีตของผู้เรียน
ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ครูควรสร้างบรรยากาศที่เป็นกันเองและท้าทาย
แนะแนวหรือชี้นำมากกว่าการสอน
ให้ผู้เรียนมีอิสระในการคิดการทำ
นส.พัชราภรณ์ พลตาล 60206688