Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 รูปแบบของระเบียบวินัยและการนําไปประยุกต์ใช้ - Coggle Diagram
บทที่ 8 รูปแบบของระเบียบวินัยและการนําไปประยุกต์ใช้
วัตถุประสงค์
• เข้าใจรูปแบบที่หลากหลายของระเบียบวินัยและการนําไปประยุกต์ใช้ได้
• แยกแยะประโยชน์และการใช้รูปแบบ ของระเบียบวินัยที่แตกต่างกันได้
• กลยุทธ์ที่หลากหลายมาใช้ลดปัญหาในเรื่องของระเบียบวินัยได้
บทนํา
การจัดการชั้นเรียนเป็นสิ่งสําคัญที่ครูต้องคํานึงถึงเพื่อสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมในการเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิธีการหนึ่งที่ใช้ได้ผลคือการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างครูและผู้เรียนในชั้นเรียนเพื่อให้เกิดความเข้าใจในอุปนิสัยและความประพฤติของผู้เรียน แก่นสําคัญของการจัดการชั้นเรียนคือระเบียบวินัยซึ่งหมายถึง “การควบคุมซึ่งเกิดจากการเชื่อฟังหรือคําสั่ง” ในบทนี้ ...ผู้อ่านจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับรูปแบบของระเบียบวินัยและการนําไปใช้เพื่อสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์
รูปแบบของระเบียบวินัยในชั้นเรียน
2.ระเบียบวินัยในตนเอง โดย Canter
รูปแบบ ระเบียบวินัยในตนเอง นี้ถูกคิดค้นขึ้นโดย Lee Canter ผู้เชี่ยวชาญด้านการให้คําแนะนํา เกี่ยวกับเด็กซึ่งมีแนวคิดพื้นฐานว่าด้วยการส่งเสริมความประพฤติที่เหมาะสมของผู้เรียนและการยอมรับผลที่ จากกากระทำของผู้เรียนเอง Canter เชื่อว่าครูมีสิทธิที่จะกําหนดกฎระเบียบสําหรับชั้นเรียนและผู้เรียน อุบัติตามกฎนั้น ทั้งนี้ครูควรได้รับความช่วยเหลือจากผู้ปกครอง ครูท่านอื่น ๆ และจากผู้บริหารของ เกิดจาก โรงเรียนด้วย ระเบียบวินัยในตนเอง.. นี้มีส่วนคล้ายคลึงกับ การปรับปรุงพฤติกรรม แตกต่างกันตรงที่มีการตั้ง กเกณฑ์และมีการปฏิบัติตามอย่างเข้มงวด การวางแผนการสร้างระเบียบวินัยในชั้นเรียนนี้มีขึ้นเพื่อจัด เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้อย่างได้ผล โดยมีการตั้งกฎระเบียบให้ผู้เรียนปฏิบัติตาม เช็จะสร้างสัมพันธภาพอันดีระหว่างครูกับผู้เรียนได้ เนื่องจากผู้เรียนจะรับรู้อย่างชัดเจนว่าสิ่งที่ครูคาดหวังคืออะไรและจะเกิดอะไรขึ้นหากพวกเขาไม่ปฏิบัติตามกฏระเบียบนั้นอีกทั้งยังสร้างสภาพแวดล้อมในการเรียนที่ดีเพื่อให้ผู้เรียนอยากมีส่วนร่าในกระบวนการเรียนรู้ด้วยการใช้วิธรสร้าง ระเบียบวินัย มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
สํารวจความประพฤติของผู้เรียนในชั้นพร้อมจดบันทึกไว้
ส่งเสริมความประพฤติที่ดีของผู้เรียน
กําหนดกฎระเบียบและวิธีปฏิบัติ (บทที่ 2) –
ใช้วิธีการที่เหมาะสม
สร้างสัมพันธภาพอันดีระหว่างครูกับผู้เรียน (บทที่ 3) :
ขอความร่วมมือจากผู้ปกครองของผู้เรียน
3.ผลลัพธ์ทางตรรกศาสตร์ - โดย Dreikurs
Drikurs (1968) เชื่อว่าพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนั้นเกิดจาก (1) ความต้องการเรียกร้องความสนใจ ถามต้องการวางอํานาจ (3) ความแค้นหรือ (4) ความไม่พอใจ ดังนั้นครูจึงต้องอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจถึง ต้นที่เป็นบ่อเกิดของพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเหล่านี้และผลเสียที่จะตามมา แรงกระตุ้น 4 ประการที่ เป็นบ่อเกิดของพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมได้แก่
1) การเรียกร้องความสนใจ
รูปแบบหนึ่งของ การเรียกร้องความสนใจ คือ เวลาที่ผู้เรียนพยายามจะก่อกวนเพื่อให้ครูหันมาสนใจ พวกเขา ซึ่งผู้เรียนอาจใช้วิธีการที่หลากหลายใน การเรียกร้องความสนใจ จากครูและจากเพื่อนร่วมชั้นเรียน พวกเขาอาจวิ่งวนไปรอบห้องเรียน เคาะดินสอกับโต๊ะ ชวนเพื่อนคุย ก่อกวนเพื่อนที่นั่งข้าง ๆ ให้เรียนหนังสือ ไม่รู้เรื่อง ไม่ใส่ใจฟังที่ครูสอน ทําตัวขี้เกียจและไม่ยอมทํางานที่ครูสั่งให้ทํา เมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์เช่นนี้ ครูควรจะวิเคราะห์ถึงที่มาของปัญหาเสียก่อนเพื่อไม่ให้พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนี้รุนแรงยิ่งขึ้น จากนั้นจึง พยายามแก้ไขความต้องการเรียกร้องความสนใจของผู้เรียน
2) การวางอํานาจ
เมื่อผู้เรียนไม่ได้รับความสนใจอย่างที่พวกเขาเรียกร้อง พวกเขาก็จะพยายามวางอํานาจใส่ครูซึ่งจะ ความขัดแย้งระหว่างครูกับผู้เรียนได้ ดังนั้นครูจึงจําเป็นต้องพยายามรักษาบรรยากาศในการเรียนให้เป็นเชิงบวกเข้าไว้ เพื่อควบคุมความประพฤติของผู้เรียนให้ได้ ผู้เรียนบางคนอาจหัวดื้อ ไม่เชื่อฟังและแสดงอาการ ต่อต้านครูเช่น พวกเขาอาจไม่ยอมทํางานที่ครูสั่งให้ทํา ลืมหนังสือเรียนไว้ที่บ้าน ไม่ยอมทําความสะอาด ห้องเรียนหลังเลิกเรียน หรือยังคงแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ต่อไป ในสถานการณ์เช่นนี้ ครูควรหลีกเลี่ยง การเผชิญหน้าโดยตรง พยายามแก้ปัญหาโดยตรงกับผู้เรียนเพื่อไม่ให้พวกเขาวางอํานาจจนเกิดความขัดแย้งกับครูไปมากกว่านี้ ครูต้องพยายามแก้ปัญหาโดยใช้ความเชื่อมั่นและเอาใจใส่อย่างจริงใจเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจแรงกระตุ้นของพวกเขาเอง
4) ความไม่พอใจ
เมื่อผู้เรียนไม่สามารถเรียกร้องความสนใจจากคนรอบข้างได้ พวกเขาก็จะอยากอยู่คนเดียวและ เหลีกเลี่ยงการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มหรือการนําเสนองานหน้าชั้นเรียน พวกเขาคิดว่าตัวเองด้อยกว่าคน ละไม่อยากโดนดูถูก Dreikurs ได้เสนอกลยุทธ์ 5 ขั้นที่จะรับมือกับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเช่นนี้ไว้ดังนี้
ช่วยเหลือผู้เรียนในการเปลี่ยนจุดมุ่งหมายในทางที่ผิดของพวกเขาให้กลายเป็นสิ่งที่ถูกต้องและ
เป็นประโยชน์
ให้กําลังใจพวกเขาในการทําให้สําเร็จตามจุดมุ่งหมายใหม่ที่ดีงาม
ช่วยเหลือผู้เรียนให้เข้าใจแรงกระตุ้นของตนเอง
ช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนรู้ถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจากการปฏิบัติที่ผิดพลาดของพวกเขา
สืบให้รู้แน่ชัดถึงแรงกระตุ้นของผู้เรียน
3) ความแค้น
เมื่อผู้เรียนคิดว่าพวกเขาได้รับการปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม พวกเขาก็จะเกิดความต้องการที่จะแก้แค้นครูเพื่อนร่วมชั้นเรียน โรงเรียนหรือสังคม โดยแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมออกมาเช่น ลักขโมย ก่อความรุนแรงทําลายทรัพย์สินของโรงเรียนเช่น โต๊ะ เก้าอี้และหนังสือที่อยู่ในห้องสมุด ผู้เรียนที่มีพฤติกรรมเช่นนี้จะประสบปัญหาในการเข้ากลุ่มและเข้าร่วมกิจกรรม ดังนั้นครูจึงต้องเข้าใจเสียก่อนว่าที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่า ซึ่งเจ็บปวด จากนั้นครูจะต้องให้ความช่วยเหลือพวกเขาด้วยความเอาใจใส่เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักใช้อํานาจ ในทางสร้างสรรค์ นอกจากนี้เพื่อนร่วมชั้นเรียนก็จะต้องไม่ปล่อยให้พวกเขารู้สึกโดดเดี่ยวหรือต้องการแก้แค้น
1.การปรับปรุงพฤติกรรม – โดย Skinner
ระเบียบวินัยในความหมายของ B. F. Skinner คือการควบคุมพฤติกรรม การปรับปรุงพฤติกรรม
เป็น การปรับสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนเพื่อขจัดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ครูสามารถส่งเสริม ผู้เรียนที่มีความประพฤติดีได้โดยการให้รางวัลหรือชมเชยเพื่อให้ผู้เรียนยังคงปฏิบัติดีเช่นนี้ต่อไป
ดังนั้นครูจึง ควรส่งเสริมผู้เรียนที่มีความประพฤติดีมากกว่าจะลงโทษผู้เรียนที่มีความประพฤติแย่
ในการใช้หลักการข้อนี้ ขั้นแรกครูจะต้องวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้เรียนให้ได้เสียก่อน
เพื่อพัฒนาแผน การปรับปรุงพฤติกรรมโดยระบุถึงพฤติกรรมที่ต้องใส่ใจเป็นพิเศษ
นอกจากนี้ครูยังจะต้องระบุกฏเกณฑ์และ ผลลัพธ์ที่จะเกิดตามมาด้วย การปรับปรุงพฤติกรรม
มีทั้งข้อดีและข้อด้อย แม้จะเป็นวิธีที่สามารถนํามาใช้ได้ โดยง่าย แต่ก็ให้ผลลัพธ์ที่อยู่ได้ในระยะเวลาไม่นาน
ครูอาจเห็นผลทันตาหลังจากให้รางวัลแก่ผู้เรียน ส่วน ผู้เรียนก็จะรู้สึกพึงพอใจเมื่อได้รับรางวัล
แต่เมื่อไรก็ตามที่ผู้เรียนไม่ได้รับรางวัล ผู้เรียนก็จะปฏิบัติตนไม่ดีดังเดิม
4.การบําบัดตามความเป็นจริง - โดย Glasser
William Glasser เป็นที่ปรึกษาทางจิตวิทยาเกี่ยวกับเยาวชนและผู้เรียนผู้เป็นที่รู้จักกันดีในเรื่องของ การจัดการชั้นเรียน ในปี 1984 Glasser ได้คิดค้นทฤษฎีควบคุม (Control Theory) กระบวนการของ พฤติกรรมทางจิตวิทยาและทางสรีรวิทยาสําหรับสิ่งมีชีวิตซึ่งถูกควบคุมโดยความต้องการของมนุษย์ ต่อมาเขา ได้เปลี่ยนชื่อแนวคิดจากทฤษฎีควบคุม (Control Theory) มาเป็นทฤษฎีทางเลือก (Choice Theory) โดย เพิ่มแนวคิดเกี่ยวกับความต้องการขั้นพื้นฐาน คุณภาพและความคิดสร้างสรรค์ ทฤษฎีได้อธิบายว่าคนเราจะ เลือกตามความต้องการและจากความเป็นไปได้ในการนําไปใช้ ทฤษฎีทางเลือกเกี่ยวข้องกับทางเลือกของแต่ละ และความพยายามที่จะอธิบายว่าเหตุใดผู้คนจึงประพฤติเช่นนั้น ทฤษฎีทางเลือกอยู่บนพื้นฐานของแนวคิด ที่ว่าพฤติกรรมของมนุษย์เป็นผลโดยตรงจากความต้องการทางจิตวิทยาพื้นฐาน 4 ประการคือ
(3)การเป็นอิสระ
(1)ความรัก-การเป็นเจ้าของและการถูกรัก
(4)การมีความสนุกสนาน
(2)การมีอํานาจและการควบคุม
การวางแผนเกี่ยวกับกระบวนการในห้องเรียน (PLANNING CLASSROOM PROCEDURES
กระบวนการใช้ห้อง (Procedure for Room Use)
โต๊ะครูและบริเวณที่เก็บของ (Teacher's Desk and Storage Areas)
โต๊ะผู้เรียนและบริเวณที่เก็บของผู้เรียน (Student's Desk and Other)
ที่เก็บของส่วนรวม (Storage for Common Materials)
ที่ดื่มน้ํา อ่างล้างมือ ที่เหลาดินสอ (Drinking Fountain, Sink, Pencil Sharpener)
ห้องน้ํา (Bathrooms)
บริเวณศูนย์กลาง สถาน สถานี และเครื่องมือต่างๆ (Centers, Stations, and Etquipment Areas)
กระบวนการ (แนวปฏิบัติ) ขณะผู้เรียนนั่งทํางานที่โต๊ะเรียนและขณะกรูสอน (Protetures
during seatwork and Teacher-Led Activities)
ความสนใจความสนใจความตั้งใจของผู้เรียนขณะครูสอน (Student Attention) (Outing Presentation)
การมีส่วนร่วมของผู้เรียน (Student Participation)
11..การคุยกันระหว่างผู้เรียน
12 การขอรับความช่วยเหลือ (Obtaining Help)
13 การลุกออกจากโต๊ะ (Out of Seat Procedures)
เมื่อการทํางานของผู้เรียน (ที่โต๊ะ) เสร็จ (When Seat Work Has Bas Been Cornpleted
15 การเคลื่อนย้ายเข้า-ออก ห้องเรียน (Transition Into and Out of the Roorn)
การเริ่มต้นในแต่ละวัน (Beginning the School Day)
การออกจากห้องเรียน (Leaving the Room)
การกลับเข้าห้องเรียน (Returning to the Room)
การสิ้นสุดของแต่ละวัน (Ending the Day)
20 กระบวนการในระหว่างการอ่านในกลุ่มย่อยและกิจกรรมกลุ่มย่อยอื่นๆ (Procedures during eading and Other Small-Group Activities)
21 การเตรียมผู้เรียนให้พร้อมที่จะทํากิจกรรม (Getting the Class Ready for the Activities)
พฤติกรรมที่ถูกคาดหวังของผู้เรียนที่อยู่นอกกลุ่มย่อย (Expected Behavior of Students Not in the Small Group)
กลุ่มการเรียนรู้ (Learning Teams)
กระบวนการทั่วไป (General Procedures)
การแจกอุปกรณ์หรือเอกสารการเรียน (Distributing Materials)
– ห้องน้ํา (Bathrooms)
ห้องสมุด ห้องอุปกรณ์ และห้องครูใหญ่ libraary, Resource Room, School office)
โรงอาหาร (Cafeteria)
สนามเด็กเล่น (Playground)
การฝึกซ้อมการหนีไฟและอันตรายอื่น ๆ (Fire and Disaster Drills)
ผู้ช่วยครูปฏิบัติงานตามห้องเรียนต่าง ๆ (Classroom Helpers)
การรบกวนหรือความล่าช้า (Interruptions or Delays)
22 การเข้า-ออกจากกลุ่มของผู้เรียน (Student Movement Into and Out of the Group)
23 พฤติกรรมที่ถูกคาดหวังของผู้เรียนขณะที่อยู่ในกลุ่มย่อย (Expected Behaviors of Students in the Group)
รูปแบบของระเบียบวินัยและการนําไปประยุกต์ใช้
รูปแบบระเบียบวินัยจะช่วยอธิบายถึงโครงสร้างและความหมายของการจัดการชั้นเรียน เพื่อให้ครูสามาถนำไปปรับใช้กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีเหตุผล รูปแบบนี้ได้ถูกคิดค้นขึ้นจากประสบการณ์ หลายท่านด้วยกัน โดยเป็นขอบเขตในการทํางานที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลในเชิงปฏิบัติ คําว่า มายเดียวกับเทคนิค กลยุทธ์และวิธีการ สําหรับผู้ที่เป็นครู การจัดการชั้นเรียนถือเป็นหัวใจ สําคัญของกระบวนการเรียนการสอน