Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลระยะที่ 2 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลระยะที่ 2 ของการคลอด
การประเมินภาวะสุขภาพผู้คลอด
การประเมินสภาวะการเบ่งคลอด
การประเมินปฏิกิริยาตอบสนองทางด้านจิตใจ
การประเมินสภาวะทั่วไปของการคลอด
การประเมิสภาวะทารกในครรภ์
ความก้าวหน้าของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
ระยะเวลาในการคลอด
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
Active phase
Transitional phase
Latent phase
การประเมินการปรับตัวของทารกตามกลไกการคลอด
หลักการพยาบาล
การเบ่งคลอด
เบ่งเมื่อไหร่-เบ่งเมื่อปากมดลูกเปิดหมดแล้วและมีความรู้สึกอยากเบ่ง
เบ่งอย่างไร-ให้ผู้คลอดหายใจเข้าออกลึกๆ ยาวๆ 1-2 ครั้ง หลังจากนั้นสูดหายใจเข้าเต็มที่ กลั้นหายใจไว้ พร้อมทั้งก้มหน้าให้คางจรดหน้าอก ลำตัวงอเป็ฯรูปตัว C เบ่งลงทางช่องคลอดคล้ายเบ่งอุจจาระ
ข้อควรระวัง
ไม่ควรเบ่งในท่านอนหงาย
การเบ่งแต่ละครั้งไม่ควรเกิน 8 วินาที เพราะอาจเกิด valsalva maneuver
การพยาบาลทั่วไป
กระเพาะปัสสาวะ
การบรรเทาความเจ็บปวด
การได้รับอาหารและน้ำ
การดูแลด้านจิตใจ
การดูแลสนับสนุนในการคลอด
ดูแลให้ผู้คลอดอยู่ในท่าที่เหมาะสม
การดูแลทารกในครรภ์
ความสุขสบายและการจัดสิ่งแวดล้อม
การป้องกันการติดเชื้อ
ความก้าวหน้าของการคลอด
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
การหดรัดตัวของมดลูก ระยะเวลา ความถี่ ความแรง
ภาวะแทรกซ้อน
การคลอดไหล่ยาก
มดลูกแตก
ระยะคลอดยาวนาน
ปากมดลูกบวม
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
การทำคลอด
การเตรียมเพื่อทำคลอด
การเตรียมอุปกรณ์และสิ่งแวดล้อม
การเตรียมผู้คลอด
การจัดท่าผู้คลอด
การเตรียมความสะอาดผู้คลอด
การเตรียมผู้ทำคลอด
การทำคลอดทารก
การทำคลอดไหล่
การทำคลอดไหล่หน้า
การทำคลอดไหล่หลัง
การทำคลอดลำตัว
ห้ามจับบริเวณรกแร้ แขนหรือท้องแขนเพื่อดึงลำตัวออกมา
การดึงลำตัวออกมาต้องดึงให้ถึงระดับสะดือ
การทำคลอดศรีษะ
พยายามให้ศรีษะทารกก้มตลอดเวลา
พยายามให้ศรีษะทารกคลอดออกมาช้าๆ
การตัดฝีเย็บ
ประโยชน์
ป้องกันการฉีกขาดและหย่อนยานของ pelvic floor
สะดวกในการซ่อมแซมฝีเย็บ
ลดอันตรายที่จะเกิดกับสมองทารก
ลดระยะเวลาในการคลอดระยะที่สอง
ภาวะแทรกซ้อน
เสียเลือดมาก
ติดเชื้อแผลฝีเย็บ
อันตรายต่อกล้ามเนื้อหูรูดทวารหนัก
เกิดรูติดต่อระหว่างช่องคลอดและลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย