Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 ตัวแปร ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเ…
หน่วยที่ 5 ตัวแปร ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ตัวแปรในการวิจัย
ความสำคัญ
เป็นตัวเชื่อมโยงกับแนวคิดและทฤษฎี
เป็นองค์ประกอบสำคัญ
ถูกนำมากำหนดเป็นสมมติฐาน
ช่วยให้สามารถวัดและทดสอบได้
ระดับการวัดตัวแปรมีความสำคัญต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
ตัวแปรที่ชัดเจนนำไปสู่คำตอบของความรู้
ประเภท
จำแนกตามการให้ความหมายเชิงนโยบาย
จำแนกตามคุณสมบัติของค่าตัวแปร
พิจารณาความต่อเนื่องของตัวแปร
จำแนกตามความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในเชิงเหตุและผล
ที่มา
แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
รวบรวมจากข้อเท็จจริง
การนิยามตัวแปร
กำหนดตัวแปรของการวิจัย
นิยามตัวแปร
ประเภทการวัดตัวแปร
การวัดทางจิตวิทยา
การวัดทางกายภาพ
ระดับการวัดตัวแปร
วัดแบบกลุ่มหรือนามมาตร
วัดแบบจัดอันดับหรืออันดับมาตร
วัดแบบช่วงหรือช่วงมาตร
วัดแบบอัตราส่วนหรืออัตราส่วนมาตร
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
แนวคิด
ประเภท
ประชากรที่มีจำนวนจำกัด
ประชากรที่มีจำนวนไม่จำกัด
ความสำคัญของการสุ่มตัวอย่าง
ได้ตัวแทนของประชากรที่ศึกษา
ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูล
สร้างความถูกต้องเชื่อถือได้
สามารถนำไปใช้กับการตอบปัญหาการวิจัยได้ทันเวลา
มีรายละเอียดของข้อมูลมาก
ค่าสถิติของกลุ่มตัวอย่าง
คำที่เกี่ยวกับการสุ่มตัวอย่าง
ขอบเขตในการสุ่มตัวอย่าง
หน่วยตัวอย่าง
ขนาดตัวอย่าง
ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี
ต้องไม่อคติและสามารถนำไปอ้างอิงขยายผลได้
ตรงกับวัตถุประสงค์
มีความสำคัญของประชากรที่จะศึกษา
มีขนาดพอเหมาะ
ได้จากการสุ่มโดยวิธีการที่เหมาะสม
การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
วิธีการกำหนดขนาด
กรณีไม่ทราบจำนวนประชากรแน่นอน
กรณีทราบจำนวนประชากรแน่นอน
ข้อควรพิจารณา
วัตถุประสงค์
ความคลาดเคลื่อน
ความแปรปรวน
ขนาดของประชากร
จำนวนของตัวแปร
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ธรรมชาติของการทำวิจัย
จำนวนของบุคคลที่เป็นประชากรในการศึกษา
อัตราการตอบที่ต้องการได้รับคืน
ข้อจำกัดด้านทรัพยากรอื่นๆ
ขั้นตอน
ศึกษาวัตถุประสงค์
นิยามประชากร
กำหนดหน่วยตัวอย่าง
กำหนดขนาดตัวอย่าง
เลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
ทำการสุ่มตัวอย่าง
วิธีการสุ่มตัวอย่าง
ใช้หลักความน่าจะเป็น
สุ่มตัวอย่างแบบง่าย
สุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ
สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ
สุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม
สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
ไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น
สุ่มตัวอย่างแบบพบโดยบังเอิญ
สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงหรือตามวัตถุประสงค์
สุ่มตัวอย่างแบบกำหนดโควตา