Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Multiple trauma with subarachnoid hemorrhage with liver injury - Coggle…
Multiple trauma with subarachnoid hemorrhage with liver injury
มีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง ร่วมกับ ภาวะที่มีเลือดออกในโพรงสมอง
พยาธิสภาพ
ทฤษฏี
เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางที่เกิดขึ้นเอง (spontaneous),เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางจากการบาดเจ็บ (traumatic SAH)
เกิดการอักเสบ,ฉีกขาดของเส้นเลือด
เกิดเลือดคั่งอยู่ใต้ชั้นเยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง
เกิดแรงดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น (IICP)
อาการปวดมักจะเพิ่มขึ้นจนถึงจุดสูงสุดภายในเวลาไม่กี่วินาที (thunderclap headache), ปวดศีรษะนำมาก่อนคล้ายสัญญาณเตือน (“sentinel” headache)
มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ตาสู้แสงไม่ได้ (photophobia) คอตึงแข็ง (neck stiffness) มีความผิดปกติของระบบประสาทเฉพาะที่ (focal neurologic deficits) และในบางรายอาจมีอาการหมดสติชั่วคราวได้
กรณีศึกษา
เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางจากการบาดเจ็บ (traumatic SAH)
เกิดการฉีกขาดของเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง
เกิดเลือดคั่งอยู่ใต้ชั้นเยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง
เกิดแรงดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น (IICP)
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
Liver injury
สาเหตุ
เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางที่เกิดขึ้นเอง (spontaneous)
การแตกของหลอดเลือดโป่งพอง aneurysm
หลอดเลือดผิดปกติที่เรียกว่า arteriovenous malformation (AVM)
เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางที่ไม่พบสาเหตุ มื่อนำผู้ป่วยที่มีเลือดออก ไปฉีดสีไม่พบว่ามีการโป่งพองของหลอดเลือด
ความผิดปกติของหลอดเลือดในไขสันหลัง และการมีเลือดออกจากเนื้องอกต่างๆ
เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางจากการบาดเจ็บ (traumatic SAH)
จากการบาดเจ็บมักจะเกิดในผู้สูงอายุที่หกล้มและศีรษะกระแทกพื้น
เกิดจากอุบัติเหตุมอเตอร์ไซด์
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยบาดเจ็บจากการได้รับอุบัติเหตุ จากรถจักยานยนต์ชนกับรถจักรยานยนต์
ปัจจัยเสี่ยง
หลอดเลือดโป่งพอง Aneurysm
สูบบุหรี่ ,ดื่มสุรามากเกินไป
ความดันโลหิตสูง
Fibromuscular dysplasia (FMD) and other connective tissue disorders(ความผิดปกติของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันอื่น ๆ)
ประวัติครอบครัวเป็นโรคนี้
กรณีศึกษา
ดื่มสุรา วันละ 1 ขวด
อาการและอาการแสดง
การปวดศีรษะอย่างมากรุนแรงเฉียบพลัน ไม่เคยปวดแบบนี้มาก่อน เวลาที่เริ่มปวดจนปวดมากใช้เวลาเป็นนาที เริ่มต้นปวดตุ๊บๆ ต่อมากระจายไปทั้งศีรษะ
อาเจียนพุ่งเนื่องจากความดันในสมองเพิ่มมากขึ้น
คอแข็งเกร็งเนื่องจากมีการกระตุ้นเยื่อหุ้มสมอง อาการคอแข็งจะเกิดหลังจากปวดศีรษะไปแล้วประมาณ 6 ชั่วโมง
ไม่ชอบแสงจ้าๆ
อาจจะมีอาการชัก ซึมลง และอาจจะหมดสติ
มีปัญหาเรื่องการมองเห็น เช่นเห็นภาพซ้อน มองเห็นเป็นจุดดำ ตาบอดชั่วคราว
กรณีศึกษา
รับ Refer จากโรงพยาบาลหนองแค ด้วยอาการไม่รู้สึกตัว แขนขาผิดรูป 20 นาทีก่อนมา
การรักษา
ทฤษฎี
Craniotomy remove blood clot การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ เอาก้อนเลือดออด
Craniotomy aneurysm clipping การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ หนีบเส้นเลือดสมองโป่งพอง เป็นวิธีที่ดีที่สุด คือการใส่ Clip หนีบคอของ Aneurysm เพื่อไม่ให้เลือดผ่านเข้า Aneurysm
Vascular bypass(Revascularization) การตัดต่อเส้นเลือดสมองเพื่อเพิ่มเลือดไปเลี้ยงสมองในกรณีที่มีการทำลายเส้นเลือดใน Fusifrom aneurysm หรือ Giant Aneurysm
Craniotomy resection of AVM,AVF การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะตัดเส้นเลือดผิดปกติออก
CSF Diversion การผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำหล่อโพรงสมองเมื่อเกิดภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง
Decompressive craniectomy การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะลดความดันในกะโหลกศีรษะ
กรณีศึกษา
ทำ Ventricolostomy 13/9/63
การวินิจฉัย
การตรวจภาพถ่ายรังสี
การเจาะน้ำไขสันหลัง
การฉีดสีหลอดเลือด
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ตรวจร่างกาย
ศีรษะ
มีแผลผ่าตัด ventriculosstomy ข้างขวา มีแผลเปิดจากการประสบอุบัติเหตุบริเวณกลางศีรษะ
ปาก
ปากซีด แห้ง on endotracheal Tube , on mouth gag
ทรวงอก และปอด
มีอกบุ๋ม
จมูก
จมูก มีแผลถลอกข้างซ้าย ON NG Tube
ระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัว semi coma
ตา เปลือกตาช้ำ pupill 3 mm ทั้งสองข้าง
Glasgow coma scale : E1VTM3
ภาวะแทรกซ้อน
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
อัมพฤกษ์
สูญเสียความทรงจำ
ไวต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
พูดไม่ชัดหรือมีปัญหาในการกลืน
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยเกิดภาวะความดันในกะโหลกศรีษะสูง ค่า ICP 18 cmH2o 13/9/63
และมีค่าความดันสูง blood pressure ตัวบน 155-162 mmHg ตัวล่าง 60-120 mmHg
ระดับความรู้สึกตัว Drowsiness E1VtM1 pupill left 3 mm.fixed dilate Right 4 mm.fixed dilate
มีปัญหาในการกลืน ใส่สาย NG feed